Page 20 - MU_3Mar62
P. 20

Special Scoop
            ดร.ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ
            สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล


                                 สานเสวนาชาวพุทธเพื่อการอยู่ร่วมกัน

                                 ระหว่างคนกลุ่มใหญ่-น้อยในสังคมไทย


                  สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา (สสมส.) มหาวิทยาลัย
               มหิดล ร่วมกับ ศูนย์ความมั่นคงศึกษา (Center for Security Studies:
               CSS), ETZ Zurich ด�าเนินโครงการ “สานเสวนาชาวพุทธเพื่อ
               การอยู่ร่วมกันระหว่างคนกลุ่มใหญ่-น้อยในสังคมไทย” มาเป็นระยะ
               เวลา ๔ ปี นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้น�าชาวพุทธ
               กลุ่มต่างๆ ในพื้นที่และนอกพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้มีโอกาส
               ท�าความรู้จัก แลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนวคิดและท�างานร่วมกัน
               เพื่อสร้างการอยู่ร่วมกันอย่างสันติระหว่างชุมชนต่างศาสนาและ
               ส่งเสริมกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนใต้ ในปี ๒๕๖๑
               โครงการฯ ได้จัดกิจกรรมทั้งสิ้น ๑๒ กิจกรรม และใช้การสานเสวนา











               เป็นกระบวนการหลักในการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มพุทธกับ
               พุทธ พุทธกับมุสลิม พุทธกับคณะพูดคุยสันติสุข-สันติภาพ และ
               กลุ่มพุทธกับหน่วยงานรัฐและภาคส่วนอื่นๆ จุดเน้นในเชิง
               กระบวนการของโครงการในปี ๒๕๖๑ คือ ๑) การเปิดพื้นที่การ
               สื่อสารอย่างเป็นทางการระหว่างชาวพุทธในพื้นที่จังหวัดชายแดน
               ใต้ในนามของ กทส. กับผู้แทนคณะพูดคุยสันติสุข-สันติภาพทั้งฝ่าย
               รัฐบาลหรือที่เรียกว่าปาร์ตี้ เอ (Party A) และฝ่ายมารา ปาตานี
               หรือที่เรียกว่าปาร์ตี้บี (Party B) และ ๒) การเน้นการขยายผลการ ในฐานะพื้นที่กลางในการแลกเปลี่ยนของกลุ่ม-องค์กรชาวพุทธ
               สานเสวนาจากการสานเสวนาในห้องไปสู่การสานเสวนาในชุมชน ที่มีจุดยืนและความสนใจที่หลากหลายต่อกระบวนการสันติภาพ
               มากขึ้น ได้แก่ การสานเสวนาระหว่างผู้น�าศาสนาพุทธและมุสลิม รวมทั้งได้ร่วมกันพิจารณา “ร่างข้อเสนอวัฒนธรรมองค์กรของ
               ในระดับจังหวัดและอ�าเภอ การสานสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มพุทธ            กทส.” เพื่อใช้เป็นแนวทางการ
               ที่ต้องการกลับคืนสู่ชุมชนเดิมที่ต้องอพยพออกไปเพราะสถานการณ์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกและการ
               ความรุนแรง และการเยี่ยมเยียนผู้ได้รับผลกระทบทั้งชาวพุทธ      ด�าเนินกิจกรรมในฐานะ กทส.
               และมุสลิมเพื่อให้ก�าลังใจและฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางสังคม    ความท้าทายที่ส�าคัญ คือ ๑)
                  ความส�าเร็จของงานในปี ๒๕๖๑ ประกอบด้วย ๑) สมาชิก กทส.  การรวมตัวของกลุ่ม-องค์กรชาว
               มีส่วนร่วมในการพัฒนาและจัดท�าเอกสารเพื่อสื่อสารความคิดและ พุทธยังคงอยู่ในระยะตั้งต้นและ
               ความต้องการของชาวพุทธในพื้นที่ ซึ่งได้แก่ “ข้อเสนอของกลุ่มถัก ยังต้องการความสนับสนุนเพื่อ
               ทอสันติภาพ (กทส.) ต่อสถานการณ์ชาวพุทธในชายแดนภาคใต้”  พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพ
               และได้จัดกิจกรรมแถลงข่าวเปิดตัวเอกสารข้อเสนอดังกล่าว ๒)  ทั้งในระดับองค์กรและระดับบุคคล
               สมาชิก กทส. ได้                                ๒) ชาวพุทธจ�านวนไม่น้อยยังขาด
               ลงพื้ นที่ เพื่ อ                              ความเชื่อมั่นต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุข-สันติภาพและนโยบาย
               สัมภาษณ์ชาวพุทธ                                พหุวัฒนธรรมของภาครัฐ และ ๓) ความตึงเครียดระหว่างชุมชน
               ใน สา มจัง ห วัด                               ศาสนาที่มีความเข้มข้นและพร้อมเผชิญหน้ากันเพิ่มมากขึ้น
               ชายแดนใต้  เพื่อ                                 แม้ความท้าทายดังกล่าวจะถือได้ว่าเป็นอุปสรรคส�าคัญ
               รวบรวมและจัดท�า                                แต่ กทส.  ก็มีศักยภาพที่จะพัฒนา  ๑) เป็นกลุ่มที่ข้ามพ้น
               เป็นรายงาน “ความ                               ความท้าทายทางสังคม-การเมือง และเห็นความส�าคัญของการ
               รู้สึกและข้อเสนอของชาวพุทธต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุข- รวมตัวกันเพื่อสร้างสังคมที่มีความปลอดภัยและความมั่นคง
               สันติภาพ” และได้พบปะและน�าเสนอรายงานดังกล่าวต่อตัวแทน ในชีวิต ๒) เป็นพื้นที่กลางให้กลุ่ม-องค์กรชาวพุทธได้แลกเปลี่ยน
               คณะพูดคุยทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายมารา ปาตานี ๓) การพัฒนาให้  เรียนรู้ร่วมกันและเป็นสะพานเชื่อมพุทธสู่ภาคส่วนต่างๆ และ ๓)
               กทส. มีความเป็นองค์กรเพิ่มขึ้น ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ให้การ เป็นพื้นที่ที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมที่มีความหมายของชาวพุทธ
               ยอมรับในอัตลักษณ์ร่วมและรู้สึกว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของ กทส.       ในกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้  Mahido



   20     March 2019                                              M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25