Page 16 - MU_2Feb62
P. 16

Research Excellence
            ฐิติรัตน์ เดชพรหม














                 ๑๐ นักวิจัย ม.มหิดล คว้ารางวัลในงาน “วันนักประดิษฐ์” ประจ�าปี ๒๕๖๒

                  เมื่อวันที่  ๒  กุมภาพันธ์  ๒๕๖๒   ๑. ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรเดช   งานวิจัยก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ ท�าให้ทราบ
               ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ภัทรชัย   หงส์อิง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล  กลไก และเข้าใจในโรคแทรกซ้อนมาลาเรีย
               กีรติสิน ผู้อ�านวยการสถาบันบริหาร  รามาธิบดี เป็นนักวิจัยที่ได้อุทิศตน  ชนิดรุนแรง น�าไปสู่การพัฒนาสูตรยาผสม
               จัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม     ท�างานวิจัยด้านการปลูกถ่ายเซลล์  ที่มีผลต่อการรักษาและป้องกันมาลาเรีย
               มหาวิทยาลัยมหิดล (iNT) เป็นผู้แทน  ต้นก�าเนิดเม็ด             ท�าให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวเวชปฎิบัติ
               อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล มอบช่อ  โลหิตให้กับผู้ป่วย          ในการรักษามาลาเรียใหม่ขององค์การ
               ดอกไม้แสดงความยินดีแก่ ๑๐ นักวิจัย  โรคธาลัสซีเมีย            อนามัยโลก และแนวเวชปฏิบัติในการรักษา
               จากมหาวิทยาลัยมหิดล ที่เข้ารับรางวัล  โดยเป็นผู้ริเริ่ม       มาลาเรียใหม่ของกระทรวงสาธารณสุข
               ในงาน “วันนักประดิษฐ์” ประจ�าปี   ท�าการปลูกถ่าย              โดยเฉพาะในประเทศไทยสามารถ
               ๒๕๖๒ จาก พลอากาศเอกประจิน      เซลล์ต้นก�าเนิด                ลดอัตราการป่ วยและเสียชีวิตจาก
               จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี จัดโดย   เม็ดโลหิตที่ใช้เซลล์ต้นก�าเนิดจากบุคคล  โรคมาลาเรียได้ จากเดิมมีผู้ป่วยเป็น
               ส�านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ   อื่นที่มิใช่พี่ น้อง พ่อ แม่ ในกรณีที่ผู้ป่วย   โรคมาลาเรียปีละประมาณ ๑๖๐,๐๐๐ คน
               (วช.) ซึ่งในปีนี้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ ๒๑     หรือพี่น้องที่มีเนื้อเยื่อตรงกันที่จะบริจาค  และเสียชีวิตปี ละประมาณเกือบ
               เนื่องในโอกาสฉลองครบรอบ ๖๐ ปี วช.   เซลล์ต้นก�าเนิดเม็ดโลหิตได้ และการ  ๖๐๐ คนจ�านวนผู้ป่วย ๑๐,๐๐๐ คน
               ภายใต้แนวคิด  “สิ่งประดิษฐ์และ  ปลูกถ่ายโดยใช้เซลล์ต้นก�าเนิดจากพ่อ  และเสียชีวิตน้อยกว่า ๑๐๐ คนต่อปี
               นวัตกรรม เพื่อความก้าวไกลของ   หรือแม่ที่มีเนื้อเยื่อ (HLA) ไม่ตรงกันที่  เป็นประโยชน์มากต่อประเทศไทย และ
               ประเทศ” โดยน�าผลงานประดิษฐ์คิดค้น   เรียกว่า haploidentical โดยสามารถ  ทั่วโลก
               ทั้งในประเทศ และนานาชาติมาร่วม       ปลูกถ่ายได้เกือบทุกอายุ จนถึงอายุ ๓๐ ปี   รางวัลผลงานวิจัย เป็นรางวัลที่มอบให้
               จัดแสดงกว่า ๑,๕๐๐ ผลงาน และเปิด  มีอัตราการหายขาดจากโรค และ   กับนักวิจัย ซึ่งได้อุทิศตนให้แก่การวิจัย
               ให้ผู้สนใจเข้าชมระหว่างวันที่ ๒ – ๖   รอดชีวิตมากกว่าร้อยละ ๙๕ ไม่ว่าจะ  ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่องในกลุ่ม
               กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ ณ Event Hall             ท�าการปลูกถ่ายโดยใช้เซลล์ต้นก�าเนิด  วิชาการ หรือสหวิทยาการอย่างต่อเนื่อง
               102  –  104  ศูนย์นิทรรศการและ                 จากพี่น้อง หรือจากบุคคลอื่นที่มีเนื้อเยื่อ  ผลงานวิจัยดีเด่นที่แสดงถึงความคิดริเริ่ม
               การประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ  ตรงกัน แม้กระทั่งใช้เซลล์ต้นก�าเนิด    ต้องเป็นผลงานวิจัยที่ ท�าสะสมกันมา
                  รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ        จากพ่อหรือแม่ที่มีเนื้อเยื่อเหมือนกันครึ่ง  ไม่น้อยกว่า ๕ ปี ตั้งเป็นผู้ที่มีจริยธรรม
               เป็นรางวัลที่มอบให้ นักวิจัย ซึ่งได้อุทิศตน  หนึ่งแบบ haploidentical ซึ่งความรู้     ของนักวิจัย เป็นที่ยอมรับและยกย่อง
               ให้แก่การวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือ  จากการปลูกถ่าย haploidentical ใน              ในวงวิชาการนั้นๆ สมควรเป็นแบบอย่าง
               หลายเรื่องในกลุ่มวิชาการ  หรือ                     โรคธาลัสซีเมียนี้ สามารถน�าไปรักษา         แก่นักวิจัยอื่นได้ ส�าหรับในปีนี้ มีนักวิจัย
               สหวิทยาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานวิจัย  โรคอื่นๆ ได้อีกหลายโรค เช่น โรคมะเร็ง  จากมหาวิทยาลัยมหิดลที่ได้รับรางวัล
               ดีเด่นที่แสดงถึงความคิดริเริ่ม โดยผลงานวิจัย  เม็ดเลือดขาว โรคไขกระดูกฝ่อ และ          จ�านวน ๒ ผลงาน ดังนี้
               สร้างคุณูปการ และเกิดประโยชน์ในเชิง  โรคพันธุกรรมอื่นๆ ความรู้ที่ได้สามารถ  ๑.สาขาวิศวกรรมศาสตร์และ
               วิชาการ เชิงเศรษฐกิจ เชิงชุมชน สังคม   ช่วยชีวิตผู้ ป่ วยโรคธาลัสซีเมีย                           อุตสาหกรรมวิจัย  ได้แก่  รอง
               และเชิงโยบายอย่างต่อเนื่อง เป็นผลงาน  ให้หายขาดได้มากยิ่งขึ้น  ศาสตราจารย์ ดร.สุวรรณา (กิจผาติ)
               วิจัยที่ท�าสะสมกันมาไม่น้อยกว่า ๕ ปี    ๒. ศาสตราจารย์ ดร.พลรัตน์ วิไลรัตน์   บุญตานนท์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
               ทั้งเป็นผู้ที่มีจริยธรรมของนักวิจัย เป็นที่  คณะเวชศาสตร์เขตร้อน นักวิจัยที่ได้  รางวัลผลงานวิจัยระดับดี เรื่อง “การป้องกัน
               ยอมรับ และยกย่องในวงวิชาการนั้นๆ  อุทิศตนท�างานวิจัยด้านโรคมาลาเรีย   ผลกระทบจากสารอันตรายตกค้าง
               สมควรเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยอื่นได้             เนื่องจากโรค  ของโลจิสติกส์
               ส�าหรับในปีนี้ มีนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย         มาลาเรียเป็นโรค  สินค้าเกษตร
               มหิดล ที่ได้รับรางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ           เขตร้ อนที่เกิด  และอาหารจาก
               รางวัล : รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ           จากปรสิตที่มี  การรวมกลุ่ม
               ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ในสาขา                    ความส�าคัญ    ประชาคม
               วิทยาศาสตร์การแพทย์  จ�านวน                     มากที่สุดในโลก   เศรษฐกิ จ
               ๒ ท่าน ดังนี้

   16     February 2019                                           M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21