Page 21 - MU_2Feb62
P. 21

Special Scoop
                                                                                              บทความ : ศักดิ์ชัย เอี่ยมกระสินธุ์
                                                                                                  ภาพ : กฤชกร วงษ์ศรีษะ




                      ตื่นรู้ ๑๐๑ : มากกว่าค�าว่า “คุณค่าและความหมาย”





                  กิจกรรมตื่นรู้ ๑๐๑ จัดขึ้นโดยศูนย์
               จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
               ภายใต้โครงการหยั่งรากจิตตปัญญา
               สู่สังคมแห่งความสุข ปีที่ ๓ ด้วยการ
               สนับสนุนของส�านักงานกองทุน
               สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
               ซึ่งกิจกรรมนี้จัดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่
               ๑๐ มกราคม ๒๕๖๒ ณ อาคารศูนย์การ
               เรียนรู้มหิดล  มหาวิทยาลัยมหิดล
               วิทยาเขตศาลายา ซึ่งได้รับความสนใจ
               เป็นอย่างดีทั้งผู้บริหารและบุคลากรของ
               มหาวิทยาลัยมหิดล อีกทั้งยังมีผู้สนใจ
               จากหน่วยงานต่างๆ ทั้งทางภาครัฐ   เรื่องเดียวกันก็ได้ สังเกตคือสติ ความ
               เอกชน และรัฐวิสาหกิจ สถาบันการ สามารถในการสังเกตมั่นคงได้คือสมาธิ
               ศึกษาจากทั่วประเทศ รวมจ�านวนทั้งสิ้น เราไม่ต้องการได้คนที่นั่งนิ่งไหลไปกับ
               ประมาณ ๑๒๐ คน                  สมาธิ  แต่ต้องการคนที่ปะทะกับ
                  กิจกรรมตื่นรู้ ๑๐๑ ได้ถูกแบ่งออก สิ่งแวดล้อมได้ จิตตปัญญาเป็นกระบวน
               เป็น ๓ เวทีการเรียนรู้ย่อย ประกอบด้วย  การเรียนรู้ ที่ช่วยให้เราเท่าทัน ถอดถอน
               ห้องเรียนผ่านการเรียนรู้ระดับตัวตน  ความคิด ความเชื่อ เพื่อให้เรารู้จักตัวเอง
               ชั้นเรียนเพื่อการเปลี่ยนแปลง        รู้จักร่อง ว่าอะไรท�าความล�าบากให้เรา
               และเส้นทางสู่องค์กรแห่งความสุข     โดยไม่จ�าเป็น ช่วยให้เรารับมือกับชีวิต
               ๓ เวทีที่ผู้เข้าร่วมสามารถเลือกรับฟัง พื้นฐานได้  ถ้าเราคิดว่าทุกข์เพราะ
               และแบ่งปันประสบการณ์การเรียนรู้    ความคิด  แล้วพยายามไปหยุดคิด
               ของตนเองได้โดยไม่มีก�าแพงของ ก็ไม่ใช่อีก ไม่ได้ต้องหยุดคิด แต่เราเป็น
               ต�าแหน่งทางวิชาการหรือบทบาทหน้าที่ อิสระจากความคิด..”
               กั้นไว้ ซึ่งวิทยากรทั้ง ๓ เวที ราว ๒๐ ชีวิต   (รศ.นพ.ชัชวาลย์ ศิลปกิจ ผู้อ�านวย
               ล้วนแล้วแต่เป็นเครือข่ายกัลยาณมิตร     การศูนย์จิตตปัญญาศึกษา ส่วนหนึ่ง
               ที่เกิดจากการท�างานร่วมกันอย่างต่อเนื่อง จากการเวทีการเรียนรู้ที่ ๓)
               ของศูนย์จิตตปัญญาศึกษา  อาทิ      ในสังคมที่ผู้คนต่างเติบโตและถูก
               จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย หล่อหลอมมาตลอดว่า ทุกอย่าง “จะต้อง
               ราชภัฏสวนสุนันทา และ มหาวิทยาลัย โอเค” ถ้าไม่โอเคเราจะไม่มีความสุขและ
               นเรศวร โดยการรูปแบบการเรียนรู้ตลอด อยู่กับสิ่งตรงหน้าไม่ได้ วันนี้จะถึงเวลา
               ทั้งวัน เป็นมากกว่าการบรรยาย หรือการ แล้วหรือยังที่การใช้ชีวิตบนพื้นฐานของ
               ลงมือท�า Workshop อย่างที่ใครหลาย ความมีสติ ความรับผิดชอบและสามารถ
               คนตั้งเป้าหมายไว้ในใจ แต่เป็นการ      เผชิญหน้ากับความรู้สึกที่เรา “ไม่โอเค”
               ร่วมเรียนรู้ไปพร้อมๆ กันระหว่างตัว กับบางสถานการณ์ในชีวิตจะที่ควรถูก
               วิทยากรกับผู้เข้าร่วม ซึ่งเป็นบรรยากาศ พูดถึงและยอมรับกันได้อย่างเป็นปกติ
               ที่อบอวลไปด้วยความเป็นมิตร บนพื้นที่ จิตตปัญญาศึกษา...ไม่ใช่ยาวิเศษที่จะ
               ปลอดภัย ที่ทุกคนสามารถเล่าเรื่องราว รักษาความทุกข์ของคนให้หายไป
               และแบ่งปันประสบการณ์ชีวิตของตน  แต่จิตตปัญญาศึกษาจะช่วยให้เราได้
               ให้เพื่อนได้ฟังกันอย่างไม่คลางแคลงใจ  เห็นและเข้าใจถึงความจริง ของชีวิต
                  “..จิตตปัญญากับการปฏิบัติธรรม ที่เราอาจเคยปฏิเสธมันมาตลอด
               ไม่ใช่เรื่องเดียวกัน จะบอกว่าเป็นคนละ เพียงเท่านั้นเอง  Mahido





                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      21
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26