Page 18 - MU_2Feb62
P. 18

Special Scoop
            ฐิติรัตน์ เดชพรหม




                             คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล


                 จัดการแสดงปาฐกถารางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลประจ�าปี ๒๕๖๑


                  เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๒ คณะ
               แพทยศาสตร์ ศิริ ราชพยาบาล
               มหาวิทยาลัยมหิดล จัดการแสดง
               ปาฐกถารางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
               ประจ�าปี   ๒๕๖๑  ณ  ห้องประชุม
               ราชปนัดดาสิรินทร อาคารศรีสวรินทิรา
               คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
               มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งคณะแพทยศาสตร์
               ศิริราชพยาบาล ในฐานะผู้ริเริ่มรางวัล
               อันทรงเกียรติได้เชิญผู้รับพระราชทาน   มหาวิทยาลัยวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา
               รางวัลฯ มาเยือน และแสดงปาฐกถา  เป็นผู้ค้นพบยีนที่เป็นสาเหตุของโรค
               เกียรติยศในผลงานที่ได้รับ      มะเร็งเต้านม ซึ่งเป็นมะเร็งที่พบบ่อย
                  ผู้ได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จ  ที่สุดในผู้หญิง มีผู้ป่วยใหม่ที่ได้รับการ
               เจ้าฟ้ามหิดล ประจ�าปี ๒๕๖๑ มีดังนี้  วินิจฉัยมะเร็งเต้านมปีละกว่าสองล้านคน
                  สาขาการแพทย์                และมีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคนี้มากถึง
                  – ศาสตราจารย์ นายแพทย์ไบรอัน เจ.   สองแสนคนในแต่ละปี
               ตรูเคอร์ (Professor Brian J. Druker)   สาขาการสาธารณสุข
               ศาสตราจารย์อายุรศาสตร์และผู้อ�านวยการ  ได้แก่ ศาสตราจารย์ นายแพทย์
               สถาบันมะเร็งในมหาวิทยาลัยการแพทย์  จอห์น ดี. คลีเมนส์ (Professor John
               และวิทยาศาสตร์แห่งโอเรกอน      D.  Clemens) ผู้อ�านวยการบริหาร
               สหรัฐอเมริกา ผู้มีผลงานส�าคัญในการ  ศูนย์ วิจัยโรคท้องร่วงนานาชาติประเทศ
               ศึกษาค้นคว้าและวิจัย จนเป็นผู้น�าใน  บังคลาเทศ ศาสตราจารย์วุฒิคุณระบาด
               การพัฒนาหนึ่งในยาต้นแบบของการ  วิทยา มหาวิทยาลัยแคลิฟอเนีย ลอส
               รักษาโรคมะเร็งแบบมุ่งเป้า คือ อิมาทินิบ   แองเจลิส  สหรัฐอเมริกา  และ
               ส�าหรับการรักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว  ศาสตราจารย์นายแพทย์ยอน
               เรื้อรังชนิดซีเอ็มแอล          อาร์. โฮล์มเกรน (Professor Jan R.
                  – ศาสตราจารย์ ดร.แมรี่ แคลร์ คิง   Holmgren) ศาสตราจารย์จุลชีววิทยา
               (Professor Dr. Mary-Claire King)   การแพทย์ และผู้อ�านวยการสถาบัน
               ศาสตราจารย์เวชพันธุศาสตร์ ภาควิชา  วัคซีนแห่ง มหาวิทยาลัยโกเธนเบิร์ก
               อายุรศาสตร์  คณะแพทยศาสตร์     ประเทศสวีเดน




                                                                               ทั้งสองท่านท�างานร่วมกันเป็นเวลา
                                                                             กว่า ๓๐ ปีในการศึกษาค้นคว้าวิจัย และ
                                                                             พัฒนาวัคซีนป้องกันอหิวาตกโรคชนิด
                                                                             กินผลงานการศึกษา ตั้งแต่ความรู้พื้นฐาน
                                                                             เกี่ยวกับการสร้างภูมิต้านทานป้องกัน
                                                                             อหิวาตกโรค ไปสู่การผลิตวัคซีนชนิดกิน
                                                                             ที่ได้รับการทดสอบทางคลินิกจนเป็นที่
                                                                             ยอมรับโดยองค์การอนามัยโลกของ
                                                                             ทั้งสองท่าน ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
                                                                             นโยบายจากวัคซีนชนิดฉีด เป็นการแนะน�า
                                                                             ให้ใช้วัคซีนชนิดกินแทน และสนับสนุน
                                                                             คลังวัคซีน ส�าหรับหลายประเทศทั่วโลก
                                                                             ที่มีปัญหา หรือมีความเสี่ยงต่อการระบาด
                                                                             ของอหิวาตกโรคท�าให้ช่วยป้องกันโรคได้
                                                                             ในวงกว้าง ลดการเสียชีวิตจากอหิวาตกโรค
                                                                             ได้ในประชากรหลายล้านคนทั่วโลก  Mahido

   18     February 2019                                           M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23