Page 23 - MU_2Feb62
P. 23
ผลงานที่ท�าให้ได้รับรางวัลโนเบล
สาขาเคมี ร่วมกับ Professor Jean-
Pierre Sauvage และ Professor
Sir James Fraser Stoddart
ที่ท�าการศึกษาเกี่ยวกับนาโนแมชชีน
เช่นกันในปี ๒๐๑๖
ด้วยผลงานดังกล่าวได้น�าไปสู่
การพัฒนาไปใช้ในการขนย้าย
หรือส่งยาไปยังเซลล์เป้าหมายใน
ร่างกาย (Smart drug) และน�าไป
สู่การรักษาโรคที่มีประสิทธิภาพ
ในอนาคต เช่น ยารักษามะเร็ง
โดยน�าเอาโมเลกุลของยาขนถ่าย
ไปกับนาโนแมชชีน เพื่อส่งไปยัง
เป้าหมาย (target cell) ทั้งนี้ Smart
drug ยังคงต้องอาศัยการพัฒนาเพื่อ
เอาชนะข้อจ�ากัดของการควบคุม
นาโนแมชชีนในสภาวะแวดล้อม
ภายในร่างกายมนุษย์ ซึ่งมีอุณหภูมิ
หรือปัจจัยหลายๆ อย่างที่แตกต่าง
กับการทดลองในห้องปฏิบัติการ
นอกจากการน�าเอานาโนแมชชีน
ไปใช้ในการรักษาแล้ว ปัจจุบันยังมี
การน�าเอานาโนแมชชีนไปประยุกต์
ใช้ในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งช่วยเพิ่ม
โอกาสในการสร้ างมูลค่าให้กับ
ผลิตภัณฑ์มากยิ่งขึ้นอีกด้วย เช่น
การเคลือบนาโนแมชชีนบนผิว
กระจก เพื่อท�าให้คุณสมบัติของพื้น
ผิวเปลี่ยนแปลงไป เป็นต้น Mahidol
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 23