Page 19 - MU_12Dec62
P. 19

Research Excellence
                                                                                                    ฐิติรัตน์ เดชพรหม



                           กุมารแพทย์สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล ม.มหิดล ชี้

                                    นมแม่มีความสัมพันธ์กับทักษะสมอง EF

                  มนุษย์ทารก มีน�้าหนักสมองเท่ากับ
               ๓๕๐ – ๔๐๐ กรัม ในขณะที่มนุษย์ผู้ใหญ่
               มีน�้าหนักสมองเท่ากับ ๑,๓๐๐ – ๑,๔๐๐
               กรัม โดยสมองของเด็กแรกเกิดนั้นจะมี
               น�้ำหนักประมำณร้อยละ ๒๕ ของน�้ำหนัก
               สมองของผู้ใหญ่ ขนำดศีรษะของเด็ก
               มีขนำดใหญ่เมื่อเทียบกับสัดส่วนของ
               ล�ำตัว โดยสัดส่วนของศีรษะต่อเมื่อ
               แรกเกิด จะเท่ำกับประมำณ ๑ : ๔ และ
               เมื่อโตเต็มที่จะเป็น ๑ : ๗
                  จากการทบทวนวรรณกรรมการศึกษา
               วิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า ช่วงสำมปี แรก
               ของชีวิตเป็ นช่วงที่สมองมีกำรเจริญ
               เติบโตเป็ นอย่ำงมำก นมแม่มีควำม
               สัมพันธ์กับทักษะสมอง EF (Execu-
               tive Functions) เนื่องจำกมีสำรอำหำร
               ที่จ�ำเป็ นต่อโครงสร้ำงและกำรท�ำงำน
               ของสมอง นอกจากนี้จะพบว่าในมารดา
               ที่ให้บุตรดูดนมของตนเอง จะมีความรัก และการดูดนมขวดมีการไหลไม่เหมือนกัน                             มำกกว่ำแม่ที่ไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยนม
               ใคร่ผูกพันทารกมากกว่ามารดาที่ไม่ได้ โดยพบว่ำกำรดูดนมแม่ไหลยำกกว่ำ ตนเอง โดย ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.
               เลี้ยงบุตรด้วยนมตนเอง          กำรดูดนมขวด เนื่องจำกเด็กต้องใช้ นำยแพทย์วรสิทธิ์  ศิริพรพำณิชย์
                  ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร. นำยแพทย์ แรงในกำรดูดมำกกว่ำ เป็นกำรฝึก EF  ได้อธิบายว่า นมแม่มีควำมสัมพันธ์กับ
               วรสิทธิ์ ศิริพรพำณิชย์ อาจารย์ประจ�า ในแง่ของกำรอดทนรอคอย และเมื่อ                       ทักษะสมอง EF โดยขณะที่ลูกดูดนม
               หลักสูตรประสาทวิทยาศาสตร์และ โตขึ้นมาในช่วงอายุ ๒ – ๓ ปี เด็กส่วนใหญ่                                                                            จะมีกำรสื่อสำรระหว่ำงลูกกับแม่ และ
               ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบัน ในช่วงวัยนี้จะซนกันโดยธรรมชาติ                 มีกำรสร้ำงควำมผูกพันเป็ นพื้นฐำน
               ชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัย ซึ่งหากได้รับการฝึกให้รู้จักการยับยั้งชั่งใจ  ของกำรสร้ำงควำมเชื่อมั่นต่อคนอื่นๆ
               มหิดล กล่าวว่า EF เปรียบเหมือน CEO  จะท�าให้พฤติกรรมในเรื่องซนของเขาดี อีกด้วย ซึ่งสารอาหารในน�้านมแม่เพียงพอ
               ที่คอยบริหำรจัดกำรองค์ประกอบ ขึ้นได้ โดยสรุปแล้ว EF ต้องเริ่มฝึกกัน และเหมาะสมแล้วในการพัฒนาสมอง ใน
               ต่ำงๆ  ให้ท�ำงำนได้อย่ำงเหมำะสม                                                                  ตั้งแต่วัยก่อนเข้ำเรียน  แต่ปัญหำที่                          ขณะที่พบว่ำนมที่มีกำรเติมสำรอำหำร
               เป็ นตั วกล ำ งที่ คอยควบคุ ม เรำพบ  คือ  เด็กไม่เคยได้ฝึ ก  จะมำ ตำมในโฆษณำ เป็ นกำรเพิ่มปริมำณ
               กระบวนกำรทั้งหมด ให้เกิดขึ้นอย่ำง ฝึกกันก็ต่อเมื่อเด็กได้เรียนชั้นประถม                                           สำรอำหำรที่มำกจนเกินควำมจ�ำเป็ น
               พร้อมเพรียง สอดคล้องต้องกัน โดยดู ขึ้นไปแล้ว ซึ่งจะฝึกได้ยำกกว่ำ”   ซึ่งอำจไปรบกวนกำรดูดซึมในร่ำงกำย
               ตัวอย่างจากภาพยนตร์แอนิเมชั่น ‘Inside   “นอกจากนี้ ในเรื่องของควำมยืดหยุ่น ของเด็กได้
               Out’ ที่บอกเล่า ๕ อำรมณ์พื้นฐำนของ ในกระบวนกำรคิดก็เป็นเรื่องที่ส�าคัญ                                                                                  “ในกรณีที่คุณแม่เองไม่สามารถให้นม
               มนุษย์ ซึ่งได้แก่ ควำมสุข ควำมกลัว  ซึ่งก็คือการที่เด็กสามารถมีการ ได้ตลอด คุณแม่อาจปั๊มนมเก็บเอาไว้แช่
               ควำมโกรธ ควำมรังเกียจ และ ควำมเศร้ำ  เปลี่ยนแปลงการตอบสนองตาม ตู้เย็น แล้วตอนกลางวันให้คนเลี้ยง ซึ่ง
               ผ่านตัวละครที่เป็นตัวการ์ตูนให้เข้าใจ สถานการณ์ที่เปลี่ยนไปต่างๆ ได้ อย่าง อาจเป็นปู่ ย่า ตา ยาย เอานมนั้นมาป้อน
               ได้อย่างง่ายๆ  ซึ่ง EF คือตัวที่มาจัดการ                                                                            เช่น สมมุติว่าแม่เปลี่ยนที่เก็บของเล่นให้ ให้เด็ก ซึ่งถึงอำจจะต้องดูดจำกขวดนม
               กับ ๕ อารมณ์ที่อยู่ในสมองส่วนสัญชาตญาณ  อยู่สูงขึ้น เด็กก็ต้องรู้วิธีจะเอาของเล่นลง แต่ เวลำให้นมควรจะต้ องท�ำใน
               ที่ทางการแพทย์ เรียกว่า “ระบบลิมบิค  มาอย่างไร โดยอาจจะใช้เก้าอี้ตัวเล็กๆ                     ลักษณะเดียวกับที่แม่ท�ำด้วย กล่ำวคือ
               (Limbic System)” ซึ่งคนที่มี EF พัฒนำ มารองขาเพื่อปีนขึ้นไปเอาของเล่น เป็นต้น   มีกำรสบตำกัน ร้องเพลงกล่อม และ
               ดีจะมีกระบวนกำรมำควบคุมพวกนี้  ซึ่งเด็กที่มีพัฒนำกระบวนกำรด้ำนนี้จะ กอดสัมผัสกัน เพื่อทดแทนกำรดูดนม
               ดีใจก็จะไม่ดีใจมำกเกินไป เศร้ำก็จะ เป็นเด็กที่สำมำรถปรับตัวได้ไว โดยจะ จำกเต้ำของแม่  ซึ่งกระบวนการที่
               ไม่เศร้ำมำกเกินไป โกรธก็ควบคุมได้  เห็นพัฒนำกำรได้ตั้งแต่ช่วง ๓ ปี แรก  เกี่ยวข้องกับการให้นมแม่ ไม่ใช่แค่ว่า
               เสียใจก็ควบคุมได้              แต่จะไม่เห็นภำพในช่วง ๓ – ๖ ปีขึ้นไป”       ลูกได้สารอาหารครบ แต่ปฏิสัมพันธ์ที่
                   “พื้นฐำนของ  EF  ด้ำนหนึ่ง  คือ  ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร. นำยแพทย์                 มีระหว่างการให้นมก็เป็นเรื่องที่ส�าคัญ”
               เรื่องกำรอดทนรอคอย กำรยับยั้งชั่งใจ                                                                            วรสิทธิ์ ศิริพรพำณิชย์ กล่าว  ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร. นำยแพทย์
               ซึ่งเป็นกระบวนกำรกำรเรียนรู้ที่เด็ก  จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วรสิทธิ์  ศิริพรพำณิชย์ กล่าวแนะน�า
               สำมำรถเรียนรู้ได้ตั้งแต่กระบวนกำร ยังพบต่อไปอีกว่า แม่ที่ให้ลูกดูดนม เพิ่มเติมทิ้งท้าย
               ให้นมแม่ ซึ่งการดูดนมจากเต้านมมารดา  ของตนเอง จะมีควำมรักใคร่ผูกพันกับลูก                      ขอขอบคุณภาพจาก MB




                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      19
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24