Page 7 - MU_11Nov60
P. 7

Research Excellence }

                                                                                  ศ.ดร.นพ.สุธี ยกส้าน สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
                                                                                               E-mail: sutee.yok@mahidol.ac.th
                 มหาวิทยาลัยมหิดล จับมือกับ องค์การเภสัชกรรม

                ขับเคลื่อนประเทศโดยใช้นวัตกรรมวัคซีน



                  ๒๗ กันยายน ๒๕๖๐ ที่ท�าเนียบ
                รัฐบาล พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนา ศัย
                รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธาน
                คณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ เป็น
                ประธานในพิธีลงนามบันทึกข้อ
                ตกลงความร่วมมือระหว่าง
                มหาวิทยาลัยมหิดลและองค์การ
                เภสัชกรรม  เพื่อพัฒนาการผลิต
                นวัตกรรมวัคซีนของมหาวิทยาลัย อักเสบเจอีเป็นวัคซีนส�าคัญในระดับ วัคซีนวิทยา เพื่อท�าการคัดเลือก
                มหิดล ได้แก่ วัคซีนโรคสมองอักเสบ นโยบายแห่งชาติ              วัคซีนตัวเลือกที่เหมาะสมที่สุดน�า
                เจอี  และวัคซีนโรคซิก้าในระดับ   ศ.ดร.นพ.สุธี ยกส้าน ที่ปรึกษา  ไปใช้พัฒนาการผลิตระดับ  pilot
                อุตสาหกรรม                    ศูนย์วิจัยและพัฒนาวัคซีน ได้ให้ความ  scale ต่อไป
                  ในโอกาสนี้ ศ.ดร.นพ.นรัตถพล  เห็นเพิ่มเติมว่า วัคซีนทั้ง ๒ ชนิดที่มีการ  ในการลงนามในบันทึกความร่วมมือ
                เจริญพันธุ์ ผู้อ�านวยการสถาบันชีว  ลงนามกันในวันดังกล่าว ได้แก่ วัคซีน ด้านการพัฒนาวัคซีนกับองค์การ
                วิทยาศาสตร์โมเลกุล ในฐานะผู้แทน โรคสมองอักเสบเจอีและวัคซีนโรค          เภสัชกรรมในครั้งนี้ แม้จะครอบคลุม
                มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ให้ความเห็นว่า  ซิก้านั้น เป็นนวัตกรรมวัคซีนที่ใช้เทคโน  เฉพาะวัคซีนสมองอักเสบเจอีและวัค
                มหาวิทยาลัยมหิดล มีปณิธานแน่วแน่ โลยีทางวิทยาศาสตร์ซึ่งนักวิจัยไทยมี ซีนซิก้าชนิดเชื้อตาย แต่ก็ถือเป็นบันได
                ในการสร้างองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ ความรู้และประสบการณ์มานาน ๑๕  ขั้นต้นๆ เพื่อเชื่อมโยงงานขับเคลื่อน
                ต่อสังคม นักวิจัยจ�าต้องน�านวัตกรรม   – ๓๐ ปี ส�าหรับวัคซีนโรคสมอง นวัตกรรมวัคซีนชนิดอื่น ๆ ต่อไป ตลอด
                ที่เกิดจากองค์ความรู้ดังกล่าวไป อักเสบเจอีที่พัฒนาได้นั้นได้ผ่าน จนสนับสนุนให้มีการท�างานเป็นหมู่
                ประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์อย่าง การทดสอบในระดับ pre-clinic ใน คณะ ท�างานกันอย่างมีเป้าหมายตาม
                แท้จริง นักวิจัยจ�าต้องพิสูจน์ให้เป็นที่ สัตว์ทดลองเป็นที่เรียบร้อยแล้ว พบ ยุทธศาสตร์  มีการขับเคลื่อนตาม
                ประจักษ์ชัดว่าสามารถบริหารจัดการ ว่าสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ดี รวม Roadmap ที่ได้ตกลงกันไว้ มีการ
                งานวิจัยจนน�าไปสู่การยอมรับสนับ  ทั้งสามารถต่อต้านการติดเชื้อจาก บริหารจัดการและการควบคุมระบบ
                สนุนให้พัฒนาต่อไปในระดับกึ่งอุตสาห  ไวรัสเจอีที่ก่อโรคในธรรมชาติได้ คุณภาพ เพื่อประกันว่าทุกฝ่ายจะ
                กรรม (pilot scale production) โดย เป็นอย่างดี                ด�าเนินงานสอดคล้องกันและกัน
                ภาคเอกชน หลังจากผ่านการทดสอบ     ส�าหรับปัญหาเรื่อง Zika virus นั้น   สามารถตรวจสอบได้และสามารถปรับ
                ในคนในระยะต้น (phase1) หากผลที่  หลังจากทราบปัญหาการระบาดของ  เปลี่ยนขั้นตอนย่อยของการด�าเนินการ
                ได้ดีพอ จึงจะพิจารณาโดยผู้บริหาร  ไวรัสชนิดนี้ในประเทศแถบละติน  ได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที ทั้ง
                ระดับสูงเพื่อลงทุนระดับพันล้านบาท  อเมริกา นักวิจัยทีมนี้ได้เข้าไปค้นหา  หลายทั้งปวงนี้คงต้องใช้แรงกาย แรงใจ
                ซึ่งเป็นการลงทุนขนาดใหญ่ต่อไป  ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์จากชีววัตถุที่  และเวลาท�าการอีกมาก เชื่อว่าถ้าตั้งใจ

                  ตลอดระยะเวลา ๒๐ ปีที่ผ่านมา  เก็บไว้ใน Bio-inventory ของหน่วยงาน   ช่วยกันจริงๆ งานก็จะส�าเร็จ
                ประเทศไทยท�าการฉีดวัคซีนโรคสมอง จากการหาข้อมูลเกี่ยวกับเชื้อไวรัสพบ  ศ.ดร.นพ.สุธี ยกส้าน ได้กล่าวทิ้ง
                อักเสบเจอีให้กับเด็กทั่วประเทศ ท�าให้ ว่า ในประเทศไทยมีไวรัสซิก้าแพร่มา ท้ายไว้ว่า โอกาสนี้ ถือเป็นวันประวัติ
                อัตราป่วยด้วยโรคนี้ลดลงอย่างมีนัย นานไม่น้อยกว่า ๑๗ ปี เมื่อน�าเชื้อไวรัส ศาสตร์ ทีมงานวิจัยนี้ได้พยายามขับ
                ส�าคัญ  เดิมทีองค์การเภสัชกรรม ซิก้าที่แยกได้มาศึกษาเรียงล�าดับสาย เคลื่อนงานวิจัยและพัฒนาวัคซีนของ
                สามารถผลิตวัคซีนโรคสมองอักเสบเจ พันธุกรรมแล้วพบว่า ยีนส์ของไวรัสมี ประเทศไทยให้ครบวงจร กล่าวคือ มี
                อีได้เองในประเทศโดยใช้สมองหนูเป็น ความเสถียรตลอดระยะเวลา ๑๐ ปี  การน�านวัตกรรมวัคซีนจากระดับ
                ฐานในการผลิต ต่อมาเมื่อมีการยกเลิก (พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๘) การค้นพบดัง ต้นน�้า (ตั้งแต่ระดับวิจัยและพัฒนาใน
                การใช้วัคซีนที่ผลิตจากสมองหนู (ตาม กล่าวท�าให้สามารถรู้ปัญหาที่แท้จริง ห้องปฏิบัติการ) ไปสู่การผลิตระดับ
                ค�าแนะน�าขององค์การอนามัยโลก) ส่ง ของประเทศไทย ซึ่งจะน�าไปสู่การ ปลายน�้า (ผลิตระดับกึ่งอุตสาหกรรม)
                ผลให้ปัจจุบันประเทศไทยต้องซื้อวัคซีน พัฒนาวัคซีนให้ตรงโจทย์ ในการพัฒนา แม้ระยะเวลาการด�าเนินงานในโครงการ
                ดังกล่าวทุกโด๊ส จากบริษัทต่างประเทศ   วัคซีนโรคซิก้า ทีมงานวิจัยได้ใช้เทค จะใช้เวลานานปี จึงจะเห็นแสงสว่างที่
                (ราว ๑.๕ ล้านโด๊สต่อปี) จากเหตุผลดัง โน  โลยีทางชีวภาพรวม ๓  ชนิด  ปลายอุโมงค์ก็ตาม แต่อย่างไรก็ดีขอให้
                กล่าวท�าให้สถาบันวัคซีนแห่งชาติ  ท�าการสร้างวัคซีนตัวเลือก ๓ ชนิด  ทุกคนช่วยกันคิด ท�า และน�าผลงานไปใช้
                (องค์การมหาชน) ผลักดันให้มีการ หลังจากนั้นจะทดสอบคุณสมบัติ ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและคนไทยทุก
                ประกาศให้การผลิตวัคซีนโรคสมอง ทางไวรัสวิทยา อิมมิวโนวิทยาและ หมู่เหล่าต่อไป  mahidol              7
                                                                                            ปีที่ ๔๒ • มหิดลสาร ๒๕๖๐
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12