Page 6 - MU_11Nov60
P. 6

{ Research Excellence
                   ฐิติรัตน์ เดชพรหม
                       ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วโรดม เจริญสวรรค์


                                  นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�าปี ๒๕๖๐



                                                                                  ...เน้นประยุกต์ใช้ศาสตร์แขนง
                                                                              ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการร่วมแก้
                                                                              ปัญหาที่ส�าคัญของประเทศ เช่น
                                                                              การใช้ระเบียบวิธีวิจัยใหม่ใน
                                                                              การศึกษากลไกของโรค และ
                                                                              การปรับตัวต่อสภาวะอากาศที่
                                                                              เปลี่ยนแปลงของพืช...

                                 ผู้ช่วยศาสตรา  ปัญหาที่ส�าคัญของประเทศ เช่น การใช้ สร้างและวิเคราะห์ข้อมูลทางชีว
                              จารย์ ดร.วโรดม  ระเบียบวิธีวิจัยใหม่ในการศึกษากลไก วิทยาขนาดใหญ่ เพื่อให้เกิดองค์
                              เจริญสวรรค์  ของโรค และการปรับตัวต่อสภาวะ ความรู้ใหม่ เช่น การแสดงออกทาง
                              ส�าเร็จการศึกษา อากาศที่เปลี่ยนแปลงของพืช      พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต เพื่อตอบ
                              ระดับปริญญาโท      ผศ.ดร.วโรดม ได้สร้างสรรค์ผลงาน  สนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ
                              และเอก  สาขา  วิจัย “บูรณาการศาสตร์หลากสาขา    แวดล้อมต่างๆ  ซึ่งน�าไปสู่ความ
                Computational Biology และ Mo- เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาพันธุ     หลากหลายทางชีวภาพ โดยเน้นที่
                lecular Biology จากมหาวิทยาลัยเคม ศาสตร์อย่างยั่งยืน” โดยมุ่งพัฒนา  โปรตีน transcription factors และ
                บริดจ์ ประเทศสหราชอาณาจักร ด้วย งานวิจัยด้านชีวเคมี เพื่อการศึกษา  histones ซึ่งเป็นหนึ่งในส่วนประกอบที่
                ทุนรัฐบาล (ทุน ก.พ.) เริ่มท�างานที่ภาค ท�าความเข้าใจเคมีในสิ่งมีชีวิต เพื่อ  ส�าคัญที่สุดของกลไกการควบคุมการ
                วิชาชีวเคมี  คณะวิทยาศาสตร์  ออกแบบ ปรับแต่ง ระบบและกลไกของ  แสดงออกทางพันธุกรรมจากข้อมูลใน
                มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี ๒๕๕๔ ได้ สิ่งมีชีวิตให้เกิดประโยชน์ คุ้มค่า และ  ดีเอ็นเอ โดยแบบจ�าลองที่หลากหลาย
                ร่วมกับกลุ่มนักวิจัยรุ่นใหม่จาก พัฒนาอย่างยั่งยืนยิ่งขึ้น ด้วยความรู้  เช่น ยีสต์ พืช การศึกษาดังกล่าว
                คณะต่างๆ และได้รับการสนับสนุน และประสบการณ์จากการเรียนและ    เป็นการสร้างองค์ความรู้ที่ส�าคัญ เพื่อ
                จากมหาวิทยาลัยมหิดลในการจัด ท�างานในด้านวิศวกรรมศาสตร์และ    พัฒนาความเข้าใจทั้งในด้านกลไกและ
                ตั้งกลุ่มภารกิจศูนย์ปฏิบัติการด้าน คณิตศาสตร์  ประกอบกับความ  วิวัฒนาการของ transcription factors
                ชีววิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ โดย  สนใจในปัญหาวิจัยทางธรรมชาติ   และบทบาทของ epigenetics เพื่อเป็น
                ผศ.ดร.วโรดม  ท�าหน้าที่เป็นผู้ และชีวิต ผศ.ดร.วโรดม มุ่งเน้นผสม  พื้นฐานในการศึกษาสิ่งชีวิตที่ซับ
                อ�านวยการ เน้นประยุกต์ใช้ศาสตร์ ผสานความรู้ความเข้าใจทาง     ซ้อนยิ่งขึ้นต่อไป  mahidol
                แขนงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการร่วมแก้ วิศวกรรมศาสตร์และชีวเคมี ในการ






























     6
         Volumn 11 • November 2017
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11