Page 12 - MU_11Nov60
P. 12

{ Special Article
                   สาธิดา ศรีชาติ
              ลูกหลานไทย




                            กับบทบาทการดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว



























                  รองศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจิต  ให้สังคมไทยมีจ�านวนผู้สูงอายุที่อยู่ ครอบครัว คือ สมาชิกในครอบครัวของ
               ศศิวงศาโรจน์ ผู้อ�านวยการสถาบัน  ในภาวะพึ่งพิงค่อนข้างสูง จึงอาจ ผู้สูงอายุ  โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและ
               วิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย  กล่าวได้ว่าเรา “แก่ก่อนรวย” ดังนั้น เยาวชนที่สามารถเป็น ‘ก�าลังเสริม’ ของ
               มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่าการก้าวสู่ การดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทยซึ่งมีข้อ ครอบครัวในการช่วยดูแลผู้สูงอายุและ
               สังคมสูงอายุก�าลังเป็นแนวโน้มโลก  จ�ากัดและยังขาดความพร้อมในหลาย จะเป็น ‘ก�าลังส�าคัญ’ ในการดูแลผู้สูง
               ประเทศไทยเองก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุ ด้าน การน�าเอาแบบอย่างจากประเทศ อายุที่เป็นพ่อแม่ของตนเองในอนาคต
               กว่าทศวรรษ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘ และ พัฒนาแล้วมาใช้ในการดูแลผู้สูงอายุ โดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมด้านค่านิยม
               คาดประมาณว่าอีก ๔ ปีข้างหน้า จะ ไทย อาจไม่ใช่แนวทางที่เหมาะสม “กตัญญู กตเวที” ที่ฝังรากอยู่ในระบบ
               กลายเป็นสังคมสูงอายุแบบสมบูรณ์  ทั้งหมด รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ การดูแลผู้สูงอายุในสังคมไทย เป็น
               (Aged society) (สัดส่วนประชากรสูง พัฒนาจากต้นทุนทางวัฒนธรรมที่มีอยู่  กลไกส�าคัญในการสร้างความสัมพันธ์
               อายุเกินร้อยละ ๒๐ ของประชากร อาจช่วยให้สามารถรับมือการเปลี่ยน  ระหว่างเด็กและผู้สูงอายุในครอบครัว
               ทั้งหมด) ผู้สูงการรับมือกับสังคมสูง แปลงได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้อง ใช้กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
               อายุยังไม่มีทางออกที่สมบูรณ์แบบ แม้ กับสภาวการณ์ของประเทศ     ประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุ
               ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งมีระยะเวลา  สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม ระหว่างเด็กและผู้รู้ด้านสุขภาพ เพื่อน�า
               ในการเปลี่ยนผ่านการเข้าสู่สังคมสูง  เอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะ ไปสู่การปรับความคิด ทัศนคติและ
               อายุยาวนาน บางประเทศนานนับ     แหล่งวิชาการที่ได้ศึกษาวิจัยด้าน ความเข้าใจระหว่างคนต่างวัย รวมทั้ง
               ศตวรรษ ท�าให้มีเวลาในการเตรียม  วัฒนธรรมมาเป็นเวลากว่า ๔๐ ปี ได้ การเสริมความรู้ ความเข้าใจที่จ�าเป็น
               พร้อมในเรื่องทรัพยากร เทคโนโลยี และ  เล็งเห็นความส�าคัญของทุนทาง ในการดูแลผู้สูงอายุ และการเสริม
               เศรษฐกิจ ส�าหรับสังคมสูงอายุก็ตาม   วัฒนธรรมที่สามารถน�ามาประยุกต์ ศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการ
               จึงท�าให้เกิดข้อกังวลต่อประเทศไทยที่  เพื่อเป็นทางเลือกหนึ่งในการรองรับ ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในครอบครัว
               มีการเปลี่ยนผ่านสู่สังคมสูงอายุแบบ  สังคมผู้สูงอายุ  ได้จัดท�าโครงการวิจัย  กลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้ คือ เด็กอายุ
               ก้าวกระโดด นอกจากระยะเวลาในการ  เรื่อง “ลูกหลานไทยหัวใจกตัญญู ๑๐-๑๕ ปี ซึ่งเป็นวัยที่เหมาะสมต่อการ
               ตั้งรับที่น้อยแล้ว ยังมีข้อจ�ากัดในด้าน  ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในครอบครัว”  ปลูกฝังทัศนคติและพฤติกรรม
               เศรษฐกิจ การจัดระบบสวัสดิการ การ  บนพื้นฐานแนวคิดการดูแลผู้สูงอายุ เนื่องจากเป็นวัยที่สามารถเข้าใจเชิง
               ออม และปัจจัยอื่นๆ ที่จ�าเป็นในการ  แบบไม่เป็นทางการโดยครอบครัว (in- เหตุผลและโตพอที่จะดูแลผู้อื่นได้ตาม
               ดูแลผู้สูงอายุ รวมทั้งเรายังขาดการ    formal care) ซึ่งปัจจุบันได้ถูกย้อนกลับ ความเหมาะสม โดยได้คัดเลือกเด็กที่
               เตรียมความพร้อมในเรื่องการส่ง  มาให้ความส�าคัญแทนการดูแลผู้สูง อาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา หรือยาย ในชุมชน
               เสริมและป้องกัน (promotion and   อายุแบบรัฐสวัสดิและการดูแลแบบ ที่เป็นพื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบทในเขต
               prevention) ในกลุ่มก่อนวัยสูงอายุ   ทางการ (formal care/ institutional  ปริมณฑล  ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการ
               (Pre-Aging) ที่เข้มแข็งซึ่งจะส่งผล  care) ปัจจัยส�าคัญในการดูแลโดย เปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม


   12
         Volumn 11 • November 2017
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17