Page 8 - MU_5May60
P. 8

{ Research Excellence
            ศ.ดร.นพ.สุธี ยกส้าน

                                                งานพัฒนา












                                      โดยทีมงานศูนย์พัฒนาวัคซีน


                   สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล


               มหัศจรรย์ยุงลาย                ไปสู่อุตสาหกรรมพัฒนาการผลิตใน    เมื่อน�าเซรุ่มของคนไทยในช่วง
                  ทั้งยุงลายบ้าน (Aedes aegypti)  ประเทศญี่ปุ่นและประเทศอื่นๆ ท�าให้  ค.ศ. ๑๙๙๘ – ๒๐๐๕ ที่เก็บไว้ในคลัง
               และยุงลายสวน (Aedes albopictus)  หน่วยงานมีความพร้อมทั้งทางด้านการ  ชีววัตถุไปตรวจโดยวิธี neutraliza-
               สามารถน�าเชื้อไวรัสไข้เด็งกี่ ไวรัส วินิจฉัยโรคโดยวิธีพิเศษ (ซึ่งไม่มีบริการ  tion test ซึ่งมีความจ�าเพาะ พบว่ามี
               ไข้ชิกุนคุนยาและไวรัสซิก้ามาสู่คน ใน Lab ทั่วไป เทคโนโลยีต่างๆ ที่ใช้  ภูมิคุ้มกันต่อไวรัสดังกล่าวราว ๑๐
               ไทย ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่จะไม่แสดง พัฒนาวัคซีน มีชีววัตถุซึ่งประกอบด้วย  – ๑๒%ในช่วง ค.ศ. ๒๐๐๖ – ปัจจุบัน
               อาการเจ็บป่วย (subclinical) มีส่วน เชื้อไวรัสและเซรุ่ม ที่เก็บสะสมไว้ใน  การติดเชื้อมีมากขึ้น  บ่งบอกว่า
               น้อยที่มีอาการ เมื่อไรก็ตามที่พบผู้ป่วย  คลังชีววัตถุเป็นเวลา ๒๐ – ๓๐ ปี)  การ  ไวรัสซิก้ามีการแพร่กระจายใน
               ๑ คน ส่อให้เห็นว่ามีผู้ติดเชื้อแต่ไม่มี มีสถานที่ท�าการวิจัยพัฒนานวัตกรรม  ประชากรไทยมานานเกือบ  ๒
               อาการอีก ๓ – ๕ คน คนเหล่านี้ก�าลัง วัคซีนซึ่งมหาวิทยาลัยมหิดลได้ลงทุนไว้  ทศวรรษเป็นอย่างน้อย มีปัจจัยอะไร
               ท�างานร่วมกิจกรรมกับเรา ดังนั้นการ เป็นเบื้องต้น รวมทั้งการมีบุคลากรที่  ที่ควบคุมท�าให้ไม่เกิดการระบาด ซึ่ง
               ควบคุมยุงลายพาหะของโรคโดยวิธี ท�างานด้วยกันอย่างเป็นระบบ ท�าให้  ต่างกับในประเทศแถบละตินอเมริกา
               การต่างๆ จึงเป็นเรื่องที่น่าหนักใจ  ทีมงานวิจัยของหน่วยงานมีความ  ทั้งๆ ที่ประชากรของเรามีประสบการณ์
                                              พร้อมในการรับมือกับไวรัสซิก้าใน  ติดเชื้อไวรัสเด็งกี่สูงมาก ส�าหรับผล
               พบไวรัสซิก้าเชื่อมโยงสมองพิการ  หลายรูปแบบ ได้แก่ การค้นหาดูว่ามี  กระทบต่อสตรีในวัยตั้งครรภ์และ/หรือ
                  ค.ศ. ๒๐๑๖ มีรายงานการระบาด  ร่องรอยของไวรัสซิก้าเกิดขึ้นใน  พยาธิก�าเนิดต่อทารกในครรภ์เป็นเรื่อง
               ของไวรัสซิก้าในประเทศแถบละติน  ประเทศไทย เป็นเวลากี่ทศวรรษ ใน  ที่จะต้องลงไปศึกษาดูในรายละเอียด
               อเมริกาว่า  หากเกิดการติดเชื้อใน  ระยะเวลา ๑๐ ปีที่ผ่านมา เชื้อไวรัส  งานวิจัยลักษณะนี้จะต้องอาศัยความ
               ระหว่างตั้งครรภ์ มีหลักฐานแสดงความ  มีการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมหรือ  ร่วมมือของแพทย์หลายฝ่ายทั้ง
               เชื่อมโยงกับอาการผิดปกติในสมอง  ไม่ การค้นคว้าหาวิธีการตรวจหา  สูติแพทย์ กุมารแพทย์ พยาธิแพทย์
               ของทารกแรกเกิดมีภาวะศีรษะเล็ก เมื่อ  ภูมิคุ้มกันโรคไวรัสซิก้าวิธีใดดี       และ Lab ที่ตรวจวินิจฉัยในส่วนของ
               วัดดูขนาดกะโหลกศีรษะและสมองจะ  ที่สุด สิ่งต่างๆ เหล่านี้มีครบอยู่แล้วใน  ศูนย์พัฒนาวัคซีน ทีมงานได้ร่วมมือ
               เล็กตามไปด้วย ซึ่งน�าไปสู่การเสียชีวิต  ทีมงานของศูนย์พัฒนาวัคซีนแห่งนี้   กับองค์การอนามัยโลก ทั้งในเอเชีย
               หรือพิการได้ องค์การอนามัยโลกมี  เมื่อทีมงานได้รับนโยบายจากสถาบัน  อาคเนย์ และส�านักงานใหญ่ในการ
               ความกังวลอย่างมากต่อการระบาด   ชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัย  สนับสนุนงานตรวจวินิจฉัยและ
               ครั้งนี้ส่งผลให้ประชาคมของ     มหิดล  ทีมงานจึงมีความเห็นเป็น  สนับสนุนการฝึกสอนเทคนิคให้แก่
               มหาวิทยาลัยมหิดลเกิดความกังวล   เอกฉันท์ว่าสามารถอาสารับงานนี้ โดย  บุคลากรของประเทศต่างๆ
               และแสวงหาข้อมูลที่ถูกต้องเพื่อชี้น�า  มีตัวชี้วัดคือ นวัตกรรมวัคซีนซิก้าที่มี
               สังคม รวมทั้งการหาหนทางแก้ไขที่  ประสิทธิภาพและความปลอดภัยที่   ส�าหรับงานพัฒนาวัคซีนซิก้า ซึ่งเป็น
               เหมาะสมที่สุดที่มีผลดีต่อประชาคมคน  สามารถแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ   นโยบายของสถาบันชีววิทยาศาสตร์
               ไทยและประชาคมโลก               สามารถน�ามาใช้ประโยชน์กับ      โมเลกุลและมหาวิทยาลัยมหิดลนั้น

               ศูนย์พัฒนาวัคซีนกับปัญหาไวรัส    ประชาชนไทยโดยเร็วที่สุด      ทีมงานมีความมั่นใจว่าสามารถสนอง
                                                                             ตอบ รวมทั้งการบริหารงานที่เน้นหรือ
               ซิก้าระบาด                     บทส่งท้าย: บทบาทความร่วมมือกับ  โฟกัสในเรื่องที่จะท�า นั่นหมายความว่า
                  จากประสบการณ์พัฒนาวัคซีนเด็งกี่                            เราต้องรู้ด้วยว่าทีมงานควรใช้เวลาไป
               ในระดับห้องปฏิบัติการมาตรฐาน GLP   หน่วยงานอื่นๆ
                                                                             ท�าสิ่งที่ต้องการท�า สร้างขวัญก�าลังใจ


     8
         Volumn 05 • May 2017
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13