Page 7 - MU_5May60
P. 7

ในระดับชุมชนต่างจังหวัด โดยได้ร่วม
               กับงาน ARI ของกระทรวงสาธารณสุข
               ได้รับทุนจากองค์การอนามัยโลก มีการ
               ฝึกอบรมบุคลากรในด้านการดูแลผู้
               ป่วย ARI ในทุกระดับของความรุนแรง
               ของโรค โดยเฉพาะในหอผู้ป่วยเวช
               บ�าบัดวิกฤต  (ICU)  ศ.เกียรติคุณ
               พญ.สุภรีได้ด�าเนินการขอทุนองค์การ
               อนามัยโลก เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ
               ทาง ICU จากสหรัฐอเมริกามาช่วยใน
               การอบรมบุคลากรในระดับประเทศ
               ท�าให้มาตรฐานของ ICU ของประเทศ
               เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
                                                 ผลจากการมีส่วนร่วมในการท�าวิจัย ผู้ด�าเนินงานโครงการวิจัยในประเทศ
                                              ของห้องปฎิบัติการท�าให้มีการพัฒนา ต่างๆ  รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญจาก BOSTID
                                              วิธีการการเก็บและเตรียมสิ่งส่งตรวจให้ ที่มาให้ค�าแนะน�าในการด�าเนินงานให้
                                              สะดวกและรวดเร็วและมีคุณภาพ    ผู้ เป็นไปอย่างแนบแน่นและต่อเนื่องมา
                                              ร่วมงานวิจัยทุกคน ได้ใช้ผลงานวิจัย จนปัจจุบันซึ่งเมื่อมีการก่อตั้ง World
                                              สอดแทรกในการเรียนการสอน Federation of Pediatric Intensive
                                              นักศึกษา/แพทย์ พยาบาล บุคลากร and Critical Care Societies ขึ้น
                                              ทางการแพทย์ทั้งในระดับชาติ  ศ.เกียรติคุณ พญ.สุภรี ได้รับเชิญให้
                  จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข  นานาชาติ รวมทั้งรูปแบบของผลงาน เป็นผู้ร่วมบุกเบิกและก่อตั้ง ทั้งหมดนี้
               พบว่าอัตราตายของผู้ป่วยเด็กต�่ากว่า  วิจัยในชุมชนและโรงพยาบาลได้ใช้ใน เป็นส่วนส�าคัญของการที่มีการจัดตั้ง
               ๕ ปี โดยเฉพาะจากปอดบวมลดลง การท�าวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาทั้งใน สาขาวิชาโรคระบบการหายใจและเวช
               อย่างมีนัยส�าคัญ และท�าให้มีการร่วม ประเทศไทยและต่างประเทศ ในระดับ บ�าบัดวิกฤตในเด็กและเกิดหลักสูตร
               มือกันวางแนวทางในการป้องกันและ นานาชาติท�าให้มีความร่วมมือทางด้าน การฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางสาขา
               ควบคุม ARI ในเด็กเล็กในประเทศไทย วิชาการระหว่างกัน ผู้วิจัยหลายท่าน วิชานี้ในระยะต่อมา โดยที่ ศ.เกียรติคุณ
               อย่างต่อเนื่อง ท�าให้เกิดความตื่นตัวใน เป็นที่ยอมรับและได้รับเชิญเป็น พญ.สุภรี เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งและที่ปรึกษา
               การเฝ้าระวังการระบาดของ ARI ในเด็ก วิทยากรระดับนานาชาติ เป็นการสร้าง จนปัจจุบันซึ่งบุคลากรทุกท่านได้น�า
               มากขึ้นโดยเฉพาะในชุมชน         เครือข่ายความสัมพันธภาพระหว่าง      ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมา
                                                                             ประยุกต์และพัฒนาการดูแลรักษาผู้
                                                                             ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางระบบหายใจ
                                                                             และเวชบ�าบัดวิกฤตในเด็กให้เป็นไป
                                                                             อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับ
                                                                             ในระดับสากล มีผลให้ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับ
                                                                             การดูแลรักษามีสุขภาพดีและมี
                                                                             คุณภาพชีวิตที่ดีด้วย  mahidol












                  ๑) Subharee Suwanjutha, Teerachai Chantarojanasiri, Siripath Watthana-kasetr, et al. A study of nonbacterial agents of acute lower
                respiratory tract infection in Thai children, Reviews of Infectious Diseases Nov-Dec 1990, Vol.12 Supplement 8, S923-928.
                  ๒) Kanda Vathanophas, Rawiwan Sangchai, Suwanee Raktham, et al.  A community-based study of acute respiratory tract infection
                in Thai children Reviews of Infectious, Diseases Nov-Dec 1990. Vol 12 Supplement 8, S957-965.



                                                                                                                  7
                                                                                            ปีที่ ๔๒ • มหิดลสาร ๒๕๖๐
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12