Page 6 - MU_5May60
P. 6

{ Research Excellence
            ศรัณย์ จุลวงษ์

                                  โรคของระบบการหายใจและเวชบ�าบัด


                                  วิกฤตในเด็กของประเทศไทย


                                  ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงสุภรี สุวรรณจูฑะ


                                  รางวัลมหิดลทยากรประจ�าปี ๒๕๕๙

                  ผลงานวิจัยเรื่องโรคของระบบ
                การหายใจในเด็ก และการจัดตั้ง
                สาขาวิชาโรคระบบการหายใจและ
                เวชบ� า บัดวิกฤตในเด็กใน
                ประเทศไทย ถือเป็นผลงานอันโดด
                เด่นของ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ
                แพทย์หญิงสุภรี สุวรรณจูฑะ ในชีวิต
                การท�างานของท่านนอกเหนือจากผล
                งานอื่นๆ อีกมาก ซึ่งงานวิจัยที่จะกล่าว
                ถึงคือเรื่อง “The study of etiology and
                epidemiology of acute respiratory
                tract infection in children under 5
                years of age in Thailand” ซึ่งเริ่มจาก  เวลาการท�าวิจัยถึง ๓ ปี โดย แบ่งขั้น วิธีเก็บสิ่งส่งตรวจ ห้องปฏิบัติการ โดย
                ศ.นพ.ณัฐ  ภมรประวัติ  อธิการบดี ตอนเป็น ๓ ช่วงเวลา ๖ เดือนแรก  ส่งผู้แทนมาตรวจสอบโดยเฉพาะใน
                มหาวิทยาลัยมหิดลในสมัยนั้นมีวิสัย เป็นการเตรียมความพร้อมของทีมงาน  แต่ละด้าน สามารถเป็นแบบอย่างที่ดี
                ทัศน์กว้างไกลได้แนะน�าให้สมัครขอรับ ๒ ปีต่อมาเป็นการเก็บข้อมูลและ ๖  ส�าหรับผู้ที่รับหน้าที่พิจารณาให้เงินทุน
                ทุนวิจัยจาก Board on Sciences and  เดือนสุดท้ายเป็นการรวบรวมข้อมูล  ท�าวิจัยอย่างคุ้มค่าในภายหน้า  ระหว่าง
                Technology for International Deve   ประเมินผล สรุปผลและการตีพิมพ์ใน การวิจัยทางผู้ให้ทุนได้จัดให้มีการ
                lopment (BOSTID) ของสภาวิจัยแห่ง การวิจัยได้ด�าเนินการตามระเบียบวิธี ประชุมผู้แทนผู้รับทุนวิจัยเรื่องเดียวกัน
                ชาติของสหรัฐอเมริกา ซึ่งก�าลังให้ทุน วิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดลในการท�า ของแต่ละประเทศเป็นระยะเพื่อการ
                การวิจัยในการศึกษาเรื่องนี้พร้อมกันใน วิจัยในคน และใช้เกณฑ์วินิจฉัยของ  ติดตามผลงานและเรียนรู้ร่วมกันถึง
                หลายประเทศ จุดประสงค์ของการวิจัย WHO และ clinical syndrome ของ  ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อปรับปรุงในบาง
                เรื่องดังกล่าวเนื่องจากโรคติดเชื้อ ARI ที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล  อย่างที่จะให้ผลดีขึ้น เช่น วิธีการเก็บสิ่ง
                เฉียบพลันทางเดินหายใจ (ARI) ในเด็ก ส�าหรับการเก็บข้อมูลในชุมชนในเขต ส่งตรวจ  การบริหารงบประมาณ
                อายุต�่ากว่า ๕ ปีพบได้บ่อย และเป็น กรุงเทพฯ  มีเด็ก ARI อายุต�่ากว่า ๕ ปี  เป็นต้น เป็นตัวอย่างให้ผู้ที่ปฏิบัติงาน
                สาเหตุการตายที่สูงมากในประเทศต่างๆ  เข้าร่วมในโครงการประมาณ ๔๐๐ คน  ต้องมีความระมัดระวังและเอาใจใส่
                ทั่วโลกโดยเฉพาะประเทศที่ก�าลังพัฒนา  ส่วนในโรงพยาบาลศึกษาเด็กที่รับการ ต่องานที่รับผิดชอบอยู่เสมอ เมื่อจบ
                                              รักษาที่โรงพยาบาลรามาธิบดีด้วย โครงการผลวิจัยได้ค�าตอบของเชื้อก่อ
                  ศ.เกียรติคุณ พญ.สุภรี สุวรรณ
                จูฑะ ซึ่งได้รับมอบหมายให้เป็นหัวหน้า  อาการของ ARI ตามเกณฑ์ประมาณ  โรคและระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อ
                โครงการกล่าวถึงผลดังกล่าวว่า งาน  ๖๐๐ คน ซึ่งประกอบด้วยผู้ป่วยที่มา ระบบทางเดินหายใจในเด็กต�่ากว่า ๕
                                                                                         (๒)
                                                                                   (๑)
                วิจัยนี้นับว่าเป็นงานวิจัยที่ใหญ่ครบ  จากชุมชนที่ท�าการศึกษาและที่อื่นๆ ใน ปี จาก   และ  โดยพบว่าเชื้อก่อโรค
                วงจรมีประเทศที่ร่วมในโครงการวิจัย  เขตกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่เป็นการติดเชื้อ ARI ในเด็กส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส
                รวม ๑๓ ประเทศ มีการศึกษาถึงเชื้อก่อ  ทางเดินหายใจส่วนล่าง    และประมาณครึ่งหนึ่งเป็น Respira-
                โรคโดยเน้นการตรวจหาเชื้อโดยวิธีการ  ประโยชน์ที่ได้รับจากการท�างาน  tory syncytial virus (RSV)  และได้
                และห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐาน และ วิจัยนี้ เหมาะสมที่จะน�ามาเป็นตัวอย่าง   ทราบถึงการด�าเนินของโรค มีส่วนช่วย
                ด้านระบาดวิทยาในผู้ป่วยระดับโรง อาทิ หลังจากส่งโครงการให้ BOSTID   ให้แพทย์เกิดความมั่นใจในการตัดสิน
                พยาบาลและชุมชนในเวลาเดียวกัน  พิจารณาถึงความคุ้มค่าความเหมาะ  ใจไม่ใช้ยาปฏิชีวนะโดยไม่จ�าเป็น จาก
                (combined community based and  สม ตั้งแต่สถานที่ท�าวิจัย บุคลากรที่ร่วม  การวิจัยครั้งนี้ ท�าให้เกิดความร่วมมือ
                hospital and laboratory based) ใช้ การวิจัยในด้านระบาดวิทยา นักสถิติ   ในการวิจัยเพิ่มเติมในลักษณะเดียวกัน


     6
         Volumn 05 • May 2017
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11