Page 10 - MU_6June60
P. 10

Research Excellence  }
                                                                                                             สุทธิรัตน์ สวัสดิภาพ
               สมองใส เด็กไทย(ต้อง)ไม่.. เฉื่อย




                  สังคมไทยตื่นตัว หลังล่าสุด ผลการ
                ส�ารวจการมีกิจกรรมทางกายและ
                พฤติกรรมเนือยนิ่งของคนไทย พ.ศ.
                ๒๕๕๙ โดยสถาบันวิจัยประชากรและ
                สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ชี้ชัดถึง
                ความเสี่ยงเกี่ยวกับวิถีการใช้เวลาใน
                แต่ละวันของเด็กไทย ที่มีกิจกรรมทาง สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)  เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น
                กายไม่เพียงพอ และยังมีพฤติกรรม เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ที่ไม่ อย่างมีนัยส�าคัญ โดยมีพฤติกรรมเนือย
                เนือยนิ่งสูงถึง ๑๓.๐๘ ชั่วโมงต่อวัน อัน เพียงแต่ช่วยส่งเสริมการมีกิจกรรมทาง นิ่งสะสมต่อวันลดน้อยลง มีกิจกรรม
                จะส่งผลเสียโดยตรงต่อการพัฒนาการ กายและลดพฤติกรรมเนือยนิ่งเท่านั้น  ทางกายเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยประมาณ ๓๐
                และการเรียนรู้ของเด็กๆ อย่างร้ายแรง แต่ยังกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการ นาทีต่อวัน ขณะเดียวกัน ทางคณะวิจัย
                  องค์การอนามัยโลกให้ค�าแนะน�าใน  เรียนรู้ในมิติต่างๆ ของเด็กๆ อย่างรอบ ได้สังเคราะห์นวัตกรรมเชิงกระบวนการ
                เรื่องกิจกรรมทางกายว่า เด็กๆ ที่มีอายุ  ด้าน สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา ที่เรียกว่า 4Pc เพื่อเข้าไปจัดการองค์
                ต�่ากว่า ๑๘ ปี ควรมีกิจกรรมทางกาย  ทรัพยากรมนุษย์ตามยุทธศาสตร์  ประกอบต่างๆ  ที่จะน�าไปสู่การ
                สะสมวันละอย่างน้อย ๖๐ นาที เพราะ  “ประเทศไทย 4.0” และนโยบาย “ลด เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันประกอบ
                จะช่วยส่งเสริมพัฒนาการทั้งทางด้าน  เวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ของกระทรวง ด้วย ๑) นโยบายเพื่อสุขภาวะ ๒) การ
                ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา  ศึกษาธิการ ให้มีความหลากหลายและ จัดสรรเวลาและกิจกรรม ๓) กระตุ้นครู
                ให้เป็นไปอย่างสมวัย แต่สถานการณ์  เกิดประสิทธิผลอย่างสูงสุดมากยิ่งขึ้น  และนักเรียน ๔) พื้นที่สุขภาวะ และ ๕)
                ในปัจจุบันของเด็กไทย ผลจากการ  ซึ่งโครงการวิจัย “เด็กไทย...ไม่เฉือย”  ห้องเรียนฉลาดรู้ โดยกระบวนการ
                ส�ารวจโดยสถาบันวิจัยประชากรและ  นี้ นับว่าเป็นโครงการวิจัยแรกๆ ของ ทั้งหมดนี้ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมี
                สังคมพบว่า เด็กไทยมีกิจกรรมทางกาย   ประเทศไทยที่หยิบประเด็นเรื่อง บทบาทหลักในการขับเคลื่อน
                วิ่งเล่น และเคลื่อนไหวร่างกายสะสม  พฤติกรรมเนือยนิ่งมาด�าเนินการวิจัย กระบวนการตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
                โดยเฉลี่ยเพียงวันละ ๔๒ นาทีเท่านั้น   อย่างเป็นรูปธรรม       ทั้งนี้เพื่อความยั่งยืนของการปรับ
                ขณะที่พฤติกรรมเนือยนิ่งและ       กระบวนการด�าเนินงานโครงการ   เปลี่ยนพฤติกรรมในระยะยาว
                พฤติกรรมหน้าจอเฉลี่ยกลับสูงถึง  “เด็กไทย...ไม่เฉื่อย” เริ่มต้นจากการ  ปัจจุบัน นวัตกรรมเชิงกระบวนการ
                ๑๓.๐๘ ชั่วโมง และ ๓.๐๙ ชั่วโมง ตาม ท�าความเข้าใจกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง  และต้นแบบกิจกรรมที่ได้จากโครงการ
                ล�าดับ ซึ่งทั้งสองพฤติกรรมดังกล่าวจัด ทั้งผู้บริหาร คณาจารย์และบุคลากรใน วิจัยดังกล่าวได้ถูกน�าไปใช้เพื่อขยาย
                อยู่ในระดับที่สูงกว่าเกณฑ์แนะน�าถึง ๑  สถานศึกษา รวมถึงผู้ปกครองนักเรียน  ผลภายใต้การขับเคลื่อนเชิงนโยบาย
                ชั่วโมงเศษ                    ให้เล็งเห็นความส�าคัญของการ จากส�านักงานคณะกรรมการการศึกษา
                  ดร.ปิยวัฒน์ เกตุวงศา และคณะ  เคลื่อนไหวออกแรงที่จะช่วยกระตุ้น ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และส�านักงาน
                ผู้วิจัยจากสถาบันวิจัยประชากรและ  พัฒนาการของเด็ก สร้างความตระหนัก กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
                สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ท�าการ  ถึงผลกระทบของการมีพฤติกรรมเนือย (สสส.) ภายใต้โครงการวิจัย “โรงเรียน
                ติดตามเฝ้าระวังในเรื่องนี้มาอย่างต่อ  นิ่งและการใช้งานหน้าจอ หลังจากนั้น  ฉลาดเล่น” จาก ๑๒ โรงเรียนใน
                เนื่องกว่า ๕ ปี จึงได้ร่วมมือกันวิจัยและ  ผู้บริหารสถานศึกษา คณาจารย์ และ โครงการเดิมขยายเพิ่มเติมอีก ๑๕
                พัฒนานวัตกรรมเชิงกระบวนการ    กลุ่มนักเรียนแกนน�า ร่วมกันพัฒนา โรงเรียนในปัจจุบัน  จนถึงวันนี้  มี
                เพื่อ ลดพฤติกรรมเนือยนิ่งและส่ง  กิจกรรมต้นแบบเพื่อลดพฤติกรรมเนือย นักเรียนที่ได้รับประโยชน์จากโครงการ
                เสริมการมีกิจกรรมทางกายในเด็ก  นิ่งและส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยมี วิจัยนี้ไปแล้วไม่ต�่ากว่า ๑๐,๐๐๐ คน
                และวัยรุ่นไทย (อายุ ๖ – ๑๗ ปี) หรือ  จุดเน้นที่ความสอดคล้องตามช่วงวัย  ซึ่งทางคณะผู้วิจัยเองตั้งใจที่จะขยาย
                กล่าวให้เข้าใจง่ายๆ คือ ท�าให้เด็ก  ความสนใจของนักเรียน และบริบทของ ผลโครงการในโรงเรียนที่มีความพร้อม
                ไทย...ไม่เฉื่อย โดยใช้กระบวนการ  โรงเรียน  โดยมีคณะวิจัยท�าหน้าที่ และสมัครใจเข้าร่วมโครงการไปอย่าง
                วิจัยแบบมีส่วนร่วมกับ ๑๒ โรงเรียน  สนับสนุนเชิงวิชาการ       ต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อสร้างพื้นฐานทางด้าน
                ต้นแบบในสังกัดส�านักงานคณะ       ผลการวิเคราะห์ข้อมูลหลังจาก  การเรียนรู้ของเด็กไทยให้เป็นไปอย่าง
                กรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ภาย ด�าเนินการไปแล้ว ๑ ปี พบว่า นักเรียน  สมวัยและรอบด้านตามเป้าหมาย
                ใต้การสนับสนุนของส�านักงานกองทุน กลุ่มทดลองของโครงการมีการ   สูงสุดของโครงการ  mahidol


                                                                                                                  9
                                                                                            ปีที่ ๔๒ • มหิดลสาร ๒๕๖๐
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15