Page 14 - MU_6June60
P. 14

Special Article }





























                  หลังจากผมซ้อมวิ่งที่สวนสุขภาพ เดี๋ยวจะท�าให้กระจ่าง ส่วนบทความนี้  เนื่องจากโรคนี้เป็นโรคที่มีสาเหตุ
               เสร็จ (เพราะไปลงวิ่งมินิมาราธอนตอน ผมขออนุญาตให้ข้อมูล และมุมมอง จากเชื้อไวรัส การรักษาท�าได้เพียงการ
               ปลายปี) และก�าลังจะควบเจ้าศรีทอง เกี่ยวกับโรคหัดแมวก่อนนะครับ  ประคับประคองอาการคือ การฉีดยา
               คู่ใจกลับบ้าน ก็เหลือบไปดูที่สมาร์ท  โรคหัดแมวถือเป็นโรคติดต่อร้ายแรง  ฆ่าเชื้อ การให้น�้าเกลือ และรักษาตาม
               โฟน เห็นข้อความทางเฟสบุ๊กบอกว่า   ที่สุดโรคหนึ่งในแมว โดยโรคนี้คร่าชีวิต  อาการที่พบอื่นๆ โดยหวังให้ภูมิคุ้มกัน
               “เสก  นายเขียนเรื่องโรคหัดแมวให้  ของเจ้าแมวเหมียวมาแล้วจ�านวนนับ  ของตัวแมวเอง ท�าให้แมวหายจากการ
               หน่อยสิ ตอนนี้ที่หมู่บ้านเขาทอง แมว  ไม่ถ้วน และที่ส�าคัญ คือ หากแมวติด  ป่วย แต่ทว่าโรคนี้นั้นมีผลต่อระบบ
               ก�าลังป่วย  และตายด้วยโรคนี้กัน  โรคนี้โอกาสรอดนั้นค่อนข้างต�่าทีเดียว   ภูมิคุ้มกันของแมวโดยตรง จึงเป็น
               ระนาว” – เป็นข้อความสั้น ๆ แต่เปี่ยม  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแมวเด็ก  เหตุผลที่ว่าแมวมีโอกาสเสียชีวิตสูง แม้
               ด้วยความห่วงใยจากหมอค�าเอก ณ                                  จะพามารักษาแล้วก็ตาม (อย่างไร
               คลินิกสัตว์วันเฮลท์ จึงเป็นที่มาของ  การติดต่อของโรคหัดแมวนั้น ถือว่า  ก็ตามการพาแมวมารักษานั้น จะท�าให้
               บทความกึ่งให้ความรู้ และความบันเทิง  ติดต่อกันได้ง่ายมาก ถ้าผู้อ่านได้  แมวมีโอกาสรอดเพิ่มสูงขึ้นมาก)
               เรื่องนี้                      ติดตามข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์คงจะ  กระผมหวังว่าผู้อ่านจะอดทนอ่านมา
                                              เคยได้ผ่านตามาบ้างว่า มีโรคระบาด
                  เป็นทราบกันดีว่า แมวเป็นสัตว์เลี้ยง  ท�าให้แมวตายเกือบทั้งหมู่บ้าน ซึ่งผู้  ถึงย่อหน้าที่ ๗ นี้นะครับ เพราะสิ่งที่ผม
               ที่คนเรานิยมเลี้ยง และมีแนวโน้มจะ  ต้องหาคนส�าคัญของการตายดังกล่าว  อยากสื่อมากสุด อยู่ที่บรรทัดต่อจากนี้
               เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ตามสมัยนิยม ใน  คือ โรคหัดแมวนั่นเอง การติดต่อเกิด  จากความรุนแรงของโรคหัดแมว และ
               บริบทของการดูแลสุขภาพสัตว์เลี้ยงนั้น   จากการสัมผัส ระหว่างแมวปกติกับ  การติดต่อ ซึ่งง่ายดายมากดังที่กล่าวมา
               แน่นอนว่า “การท�าวัคซีน” ถือเป็นสิ่งที่  แมวป่วยโดยตรง  ผ่านทางน�้ามูก   ตอนต้น ท�าให้หัวใจส�าคัญของโรคหัด
               ทุกคนรู้จัก และเป็นสิ่งที่เจ้าของแมวนั้น  น�้าลาย อาหารที่กินร่วมกัน และทาง  แมวคือ “การป้องกัน” โดยผู้เลี้ยง
               เต็มใจจะท�า เพื่อป้องกันสัตว์เลี้ยง รวม  อุจจาระ และความเสี่ยงในการเป็นโรค  แมวสามารถท�าได้โดยการพาแมว
               ถึงตัวเราเองที่จะติดโรคอันตราย โดย  นี้จะเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล ถ้าเจ้าของ  ของท่านไป “ฉีดวัคซีนป้องกัน” ได้
               ถ้าจะพูดถึงการท�าวัคซีน และโรคใน  แมวเลี้ยงแบบปล่อยอิสระ และไม่ได้ท�า  ตั้งแต่แมวมีอายุ ๒ เดือนขึ้นไป และ
               แมว ผู้เลี้ยงส่วนใหญ่จะคุ้นชินกับโรค  วัคซีนป้องกันโรคนี้     จากนั้นสัตวแพทย์ผู้ฉีดจะท�าการนัด
               เพียงไม่กี่โรค เช่น โรคพิษสุนัขบ้า โรค                        กระตุ้นวัคซีนตามโปรแกรม ส่วนใน
               พยาธิ แต่ใครจะรู้ว่าโรคในแมวนั้นยังมี  อาการที่ส�าคัญนั้นใกล้เคียงกับสุนัข  แง่บริบทของความคุ้มค่านี่ไม่ต้องพูดถึง
               อีกมากมาย ผมขอยกตัวอย่างโรคที่  ที่เป็นโรคล�าไส้อักเสบ คือ แมวจะมีไข้  เลยครับ เพราะการท�าวัคซีนนั้น นอกจาก
               ส�าคัญๆ ที่แมวมักจะป่วยให้ท่านผู้อ่าน  สูง ซึม ไม่กินอาหาร อาเจียน และท้อง  จะรักษาชีวิตได้แล้ว ยังรักษาทรัพย์ และ
               ทราบนะครับ โรคหัดแมว โรคหวัดแมว   เสียอย่างรุนแรง ท�าให้แมวเสียชีวิต  สุขภาพจิตของท่านได้อย่างแน่นอน
               โรคช่องท้องอักเสบ โรคมะเร็งเม็ดเลือด  อย่างรวดเร็วในไม่กี่วัน (เนื่องจาก  เห็นมั้ยครับ  คน – สัตว์ – สิ่งแวดล้อม
               ขาว หรือแม้กระทั่งโรคเอดส์ในแมว   อาการอาเจียนที่รุนแรง  มักท�าให้  ก็ยังคงเกี่ยวข้องกันเสมอแหละ  ถ้าท่าน
               เป็นอย่างไรครับหลายคนอาจจะคิ้ว  เจ้าของเข้าใจผิด คิดว่าแมวตัวเองโดน  มองให้ลึกลงไป  เชื่อผมเถอะครับ
               ขมวดกันอยู่ โดยเฉพาะกับโรคสุดท้าย   ยาเบื่อ) และบางตัวมีอาการเป็นหวัด
               แต่เอาไว้ก่อนครับ ถ้ามีโอกาสต่อไป  ไอ จาม ร่วมด้วย              บ๊าย บาย....  mahidol


                                                                                                                  13
                                                                                            ปีที่ ๔๒ • มหิดลสาร ๒๕๖๐
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19