Page 22 - MU_2Feb60
P. 22
Internationalization }
th
ม.มหิดล จับมือ ม.เกียวโต ประเทศญี่ปุ่นจัดประชุมระดับนานาชาติ เรื่อง 11 IDCMR
“การวิจัยและการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมโลกในภูมิภาค Congress
เอเชียลงนามความร่วมมือเปิดหลักสูตร ๒ ปริญญา”
งานประชาสัมพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ การประชุม International
Double Degree Dental Collaboration of
the Mekong River Region
“Fortifying Aesthetics in
st
the 21 Century”
ณ Universiti Teknologi
MARA ประเทศมาเลเซีย
งานประชาสัมพันธ์ คณะทันตแพทยศาสตร์
เมื่อเร็วๆ นี้ ศาสตราจารย์
คลินิก นายแพทย์อุดม คชินทร
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
และ Prof.Masao Kitano รอง
อธิการบดี มหาวิทยาลัยเกียวโต
เป็นประธานในพิธีเปิด การ
ประชุมในระดับนานาชาติ เรื่อง เมื่อเร็วๆ นี้ คณะทันตแพทย
“การวิจัยและการศึกษาด้านสิ่ง ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เข้า
แวดล้อมโลกในภูมิภาคเอเชีย” ร่วมการประชุมวิชาการนานาชาติ
และพิธีลงนามความร่วมมือใน เกียวโต และกล่าวถึงความร่วม ความร่วมมือทางทันตแพทย์ใน
การเปิดหลักสูตรสองปริญญา มือในครั้งนี้ และตัวแทนจาก “...ความร่วมมือในครั้งนี้จะ อนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้าโขง The 11
th
(Double Degree) จ�านวน ๔ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยา เป็นแรงขับเคลื่อนที่ส�าคัญใน International Dental Collabora-
หลักสูตร ณ ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ลัยเกียวโต และมหาวิทยาลัย การพัฒนาระบบการศึกษางาน tion of the Mekong River Re-
ห้อง ๓๒๒ มหาวิทยาลัยมหิดล พันธมิตรจากประเทศต่างๆ เป็น วิ จั ย แ ละน วั ต ก ร รม ใน gion Congress (The 11 IDC-
th
จัดขึ้นโดย ภาควิชาวิศวกรรม ผู้ลงนามในบันทึกข้อตกลงความ ประเทศไทย เพื่อตอบสนอง MR Congress) ครั้งที่ ๑๑ ใน
โยธาและสิ่งแวดล้อม คณะ ร่วมมือหลักสูตรสองปริญญา นโยบาย Thailand 4.0 มุ่งสู่ หัวข้อ “Fortifying Aesthetics in
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย (Double Degree) จ�านวน ๔ มหาวิทยาลัยระดับโลก...” the 21 Century” ณ Universiti
st
มหิดลร่วมกับมหาวิทยาลัย หลักสูตร โดยหลักสูตรสอง Teknologi MARA ประเทศ
เกียว โต ภายใต้การสนับสนุนของ ปริญญาที่ก�าลังจะเปิดตัวในปี โดยงานในวันนี้ มีตัวแทนจาก มาเลเซีย ซึ่งมีผู้แทนจากคณะ
กระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม การศึกษา ๒๕๖๐ เป็นหลักสูตร สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจ�า ทันตแพทยศาสตร์จากประเทศ
การกีฬา วิทยาศาสตร์ และ แรก ได้แก่ หลักสูตรวิศวกรรมสิ่ง ประเทศไทย ตัวแทนจากองค์การ สมาชิกอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้าโขง
เทคโนโลยีแห่งประเทศญี่ปุ่น แวดล้อมและทรัพยากรน�้าของ ส่งเสริมวิชาการแห่งประเทศญี่ปุ่น ได้แก่ ราชอาณาจักรกัมพูชา
องค์การส่งเสริมวิชาการแห่ง ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่ง และผู้เข้าร่วมงานจากภาค สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ประเทศญี่ปุ่น (JSPS) และมูลนิธิ แวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมและการศึกษาที่เดิน สาธารณรัฐประชาธิปไตย
นิปปอน มหาวิทยาลัยมหิดล และหลักสูตร ทางมาจากประเทศญี่ปุ่น กัมพูชา ประชาชนลาว สาธารณรัฐ
ศาสตราจารย์คลินิก นาย การศึกษาสิ่งแวดล้อมโลกของ สาธารณรัฐประชาชนจีน ฝรั่งเศส ประชาชนจีน สาธารณรัฐ
แพทย์อุดม คชินทร อธิการบดี มหาวิทยาลัยเกียวโต ซึ่งแสดง อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย สหภาพพม่า
มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวต้อนรับ ให้เห็นถึงความเป็นหุ้นส่วนใน มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย โดยมีวิทยากรจาก
ผู้เข้าร่วมการประชุมระดับ ความร่วมมือด้านการศึกษาและ สหรัฐอเมริกาและเวียดนาม ประเทศสหรัฐอเมริกา เกาหลี
นานาชาติ ภายใต้หัวข้อการวิจัย วิทยาศาสตร์ของทั้งสองประเทศ จ�านวนกว่า ๒๐๐ คน ซึ่งความ อินเดียและไทย มาร่วมบรรยาย
และการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม โดยภายในงาน มีการรายงาน ร่วมมือในครั้งนี้จะเป็นแรงขับ ทางวิชาการ mahidol
โลกในภูมิภาคเอเชีย และพิธีลง สรุปจากการประชุมเชิงปฏิบัติ เคลื่อนที่ส�าคัญในการพัฒนา
นามความร่วมมือ โดยมี Prof. การ การประชุมสัมมนาเกี่ยวกับ ระบบการศึกษางานวิจัยและ
Masao Kitano รองอธิการบดี ความร่วมมือ ระดับนานาชาติ นวัตกรรมในประเทศไทย เพื่อตอบ
มหาวิทยาลัยเกียวโตประเทศ ด้านการพัฒนาการศึกษาและ สนองนโยบาย Thailand 4.0 มุ่งสู่
ญี่ปุ่น กล่าวแนะน�ามหาวิทยาลัย งานวิจัยในภูมิภาคอินโดจีน มหาวิทยาลัยระดับโลก mahidol
21
ปีที่ ๔๒ • มหิดลสาร ๒๕๖๐