Page 22 - MU_2Feb63
P. 22

Special Scoop
             อิษยา วิธูบรรเจิด
             สถาบันโภชนาการ ม.มหิดล


                 สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล จับมือ กระทรวงสาธารณสุข สปป.ลาว
                                       เพื่อวิจัยปริมาณและคุณภาพน�้านมแม่




























                  สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัย
               มหิดล ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข
               สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน
               ลาว (สปป.ลาว) ได้ด�าเนินการวิจัย
               เรื่อง “Quantity and quality of breast  โภชนาการเป็นพิเศษ เพราะระหว่าง                   จนเกิดสมดุล เมื่อให้นมลูกอณูธรรมชาติ
               milk of Laotian lactating women”                                         ตั้งครรภ์ ให้นมแม่อย่างเดียวถึง ๖ เดือน  นี้จะถูกส่งผ่าน ไปให้ลูก นักวิจัยจะท�าการ
               มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ จนถึง ๒ ปี (๑,๐๐๐ วันแรก) จะมีความ เก็บน้ําลายทั้งแม่และลูกทั้งสิ้น ๗ ครั้ง คือ
               ปริมาณและคุณภาพของน�้านมแม่                     ต้องการคุณภาพสารอาหารสูง โดยการ ก่อนให้อณูธรรมชาติ และอีก ๖ ครั้งใน
               ของหญิงให้นมบุตรในสปป.ลาว โดย ได้รับสารอาหารอย่างเหมาะสมในช่วง  ระยะเวลา ๑๔ วัน วิธีนีเป็นวิธีที่ยอมรับ
               วิเคราะห์ทั้งปริมาณและคุณค่าทาง ๑,๐๐๐ วันแรก จะช่วยลดความเสี่ยง แม่นตรง และปลอดภัย
               โภชนาการของน�้านมแม่เปรียบเทียบ ต่างๆ ต่อการคลอดและสุขภาพของทั้ง  นอกจากนี้ โครงการนี้ยังมีการเก็บ
               ระหว่างฤดูแล้งและฤดูฝน รวมทั้งรูปแบบ มารดาและทารก เช่น การคลอดก่อน น�้านมแม่เพื่อวิเคราะห์สารอาหาร
               การกินของหญิงให้นมบุตรลาว โดยมีเป็น ก�าหนด น�้าหนักของการทารกแรกเกิด ที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบของเด็กใน
               ระยะเวลาการด�าเนินโครงการ ๒ ปี   น้อยกว่าปกติ (ต�่ากว่า ๒,๕๐๐ กรัม)  น�้านมแม่ เช่น สารอาหารหลัก วิตามินเอ
                  ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร.กิตติ  การป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นต้น  ธาตุเหล็ก แคลเซียม และฟอสฟอรัส
               สรณเจริญพงศ์ อาจารย์ประจ�าสถาบัน โครงการวิจัยนี้ จะด�าเนินการเก็บตัวอย่าง เป็นต้น  งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัย
                                 โภชนาการ  น�้านมจากอาสาสมัคร ซึ่งเป็นหญิงที่อยู่ ชิ้นแรกๆ ที่มีการเก็บข้อมูลท�าการศึกษา
                                 มหาวิทยาลัย ระหว่างการให้นมบุตร อายุไม่เกิน ๓๐ ปี             เปรียบเทียบคุณภาพน�้านมแม่ระหว่าง
                                 มหิ ด ล  ใน ที่มีลูกคนแรก จ�านวน ๘๐ คน ที่อาศัย ฤดูร้อน และฤดูฝน ซึ่งจะช่วยให้ทราบ
                                 ฐานะหัวหน้า อยู่ในเมืองหลวงพระบาง ในพื้นที่ห่าง ถึงผลกระทบของความสัมพันธ์ของ
                                 โครงการ  ให้ จากเมืองหลวงพระบางออกไปประมาณ                                                                             ความมั่นคงทางอาหาร การขาดแคลน
                                 ข้อมูลว่า จาก ๖๐ – ๘๐ กิโลเมตร ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่ อาหารและภาวะโภชนาการของหญิง
                                 รายงานการ มีความยากจนและมีความเสี่ยงของ ให้นมบุตร ผลการศึกษาดังกล่าว กระทรวง
                                 ส�ารวจของ  ประเทศ โดยการเก็บข้อมูลจะประกอบ สาธารณสุข สปป. ลาว จะน�าไปวางแผน
               สปป ลาวพบว่า เด็กอายุต�่ากว่า ๕ ปี  ด้วย ๒ ส่วน ได้แก่ การศึกษาปริมาณ ด้านการได้มาของอาหาร การท�าแนวทาง
               ร้อยละ ๓๗ มีภาวะขาดแคลนสารอาหาร  น�้านมแม่โดยใช้เทคนิค  วิธีอณู การบริโภคของหญิงตั้งครรภ์ และหญิง
               และร้อยละ ๔๔ มีภาวะเตี้ย แคระแกร็น  ธรรมชาติ (stable isotope) ซึ่งเป็น gold  ให้นมบุตร (Food Based Dietary
               เป็นอันดับหนึ่งในแถบภูมิภาคเอเชีย standard ที่สามารถหาปริมาณน�้านมแม่  Guidelines) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์
               ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีผลมาจากภาวะ โดยหลักการในการประเมินปริมาณนม และหญิงให้นมบุตรมีภาวะโภชนาการ
               โภชนาการที่ไม่เหมาะสมระหว่างตั้ง แม่คือการให้อณูธรรมชาติของ hydrogen  ที่ดี ช่วยลดผลกระทบต่อพัฒนาการ
               ครรภ์ ด้วยเหตุนี้ หญิงตั้งครรภ์และหญิง (deuterium, H2) ใน รูปของน้ํา เมื่อดื่ม ของทารก  และให้เด็กลาวมีสุขภาพ
               ให้นมบุตรควรให้ความส�าคัญกับภาวะ แล้วจะเกิดการผสมกับน้ําในร่างกาย                      แข็งแรง



   22     February 2020                                           M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27