Page 17 - MU_2Feb63
P. 17
Service Excellence
ฐิติรัตน์ เดชพรหม
ในการเลือกผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ปลอดภัย MUPY-DTC และ MUPY-CAPQ เคมี/
จากเชื้อปนเปื้อนว่า ที่ส�าคัญที่สุดให้ดูที่ สมุนไพร/จุลชีววิทยา ด�าเนินงานด้วย
ตรา อย. และบรรจุภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน บุคลากรที่มีคุณภาพของคณะเภสัชศาสตร์
และควรเก็บรักษาสมุนไพรในที่แห้ง มหาวิทยาลัยมหิดล จึงมั่นใจได้ว่าผลการ
และอากาศถ่ายเท ซึ่งเชื้อก่อโรค วิเคราะห์และข้อมูลทางวิชาการต่างๆ
ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ถูกต้องแน่นอน จากผลงานเป็นที่ประจักษ์
จ�าเป็นต้องได้รับการตรวจสอบในห้อง ด้านการเรียนการสอน และการวิจัยด้าน
ปฏิบัติการ CAPQ-MICRO เปิดให้บริการ เภสัชศาสตร์ระดับชาติและนานาชาติตลอด ๘๖๙๔ (MUPY-DTC) ๐-๒๓๕๔-๔๓๒๐
ณ ห้อง ๔๐๑ ชั้น ๔ อาคารราชรัตน์ คณะ เวลา ๕๒ ปีที่ผ่านมา (MUPY-CAPQ) www.pharmacy.
เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้สนใจติดต่อได้ที่ โทร. ๐-๒๖๔๔- mahidol.ac.th
ม.มหิดล ผ่านเกณฑ์ประเมินคุณภาพระดับโลก
คว้า ๒ รางวัลบริหารสู่ความเป็นเลิศ TQC ปี ๖๒
เมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ เป้าหมาย โดยคณะท�างานที่มีความ
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ กระทรวง เข้าใจและมุ่งมั่นที่จะด�าเนินงานให้
อุตสาหกรรม ประกาศผลรางวัล “การ สอดคล้องกับนโยบายที่วางไว้ และ
บริหารสู่ความเป็ นเลิศ หรือ Thai- ให้ความต่อเนื่องจนเกิดผลส�าเร็จ
land Quality Class (TQC)” ประจ�า ในที่สุด ซึ่งเราท�าไปเพื่อสร้างความ
ปี ๒๕๖๒ โดยมหาวิทยาลัยมหิดล มั่นใจให้กับสังคมว่า สถาบันการ
และคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล ศึกษาของเรามีคุณภาพตามเกณฑ์ที่
รามาธิบดี สามารถผ่านเกณฑ์การ เป็นมาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับใน ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร
ประเมินให้เข้ารับรางวัลดังกล่าวใน ผลผลิตที่ออกมา ไม่ว่าจะเป็นในส่วน ศรีธรา คณบดีคณะแพทยศาสตร์
พิธีที่จัดอย่างเป็นทางการในวันที่ ๒๐ ของคุณภาพบัณฑิต ผลงานวิจัย หรือ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ ไบเทค บางนา นวัตกรรมที่เกิดขึ้นได้มาตรฐานตามที่ มหิดล ได้กล่าวถึงรางวัล TQC ที่คณะฯ
TQC เป็นรางวัลที่ให้ความส�าคัญ คาดหวัง ได้รับว่า ผลการประเมินพิจารณาจาก
กับระบบบริหารจัดการที่เป็ นเลิศ รองศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกร สมภพ การพัฒนาคุณภาพการบริการด้าน
เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการ ประธานธุรารักษ์ รักษาการแทนรอง การรักษาพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
แข่งขันทางธุรกิจ ก้าวไปสู่มาตรฐาน อธิการบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพและบริการ เพื่อส่งมอบการบริการสุขภาพที่มี
สากล ซึ่งมีเกณฑ์ที่ปรับเปลี่ยนตาม วิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวเสริมว่า คุณภาพที่ดี และมีคุณค่าต่อผู้รับ
สถานการณ์โลก โดยอ้างอิงจาก ปัจจุบันทุกมหาวิทยาลัยก�าลังเผชิญ บริการ ตามกลยุทธ์ ๔ ด้าน คือ การ
รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศ กับ Disruptive Change ในโลกของการ จัดการศึกษาที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ การ
สหรัฐอเมริกา หรือ The Malcolm จัดการศึกษา ซึ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สร้างงานวิจัยที่มีผลกระทบสูง การ
Baldrige National Quality Award ของมหาวิทยาลัยก็คือ ประเทศชาติ หรือ สร้างระบบการดูแลผู้ป่ วยที่ครบ
(MBNQA) เพื่อให้สอดรับกับการน�า สังคมที่ต้องการคนที่จะไปเติมเต็ม วงจร และการสร้างสิ่งแวดล้อมที่
ประเทศไทยเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 ในโลกยุคใหม่ และไทยแลนด์ 4.0 เป็นมิตร การมีส่วนร่วมในการสร้าง
ในปีนี้ทางสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ รองศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกร ความสมบูรณ์แก่ระบบเศรษฐกิจ
ได้พิจารณาตัดสินตามเกณฑ์หลัก ๗ สมภพ กล่าวต่อไปว่า จากผลประเมิน สังคมและสิ่งแวดล้อม ผ่านกิจกรรม
หมวด ได้แก่ ๑) การน�าองค์กร ๒) กลยุทธ์ มหาวิทยาลัยมหิดลมีจุดเด่นจาก และนโยบายที่ชี้น�าสังคมจากผล
๓) ลูกค้า ๔) การวัด การวิเคราะห์ และ “การรับฟังเสียงจากลูกค้า” ซึ่งได้แก่ งานการวิจัย
การจัดการความรู้ ๕) บุคลากร ๖) การ นักศึกษา ผู้ใช้ผลงานวิจัย แหล่งทุน จากรางวัล “การบริหารสู่ความ
ปฏิบัติการ และ ๗) ผลลัพธ์ วิจัย รวมทั้งผู้ใช้บริการวิชาการในรูป เป็นเลิศ หรือ Thailand Quality Class
ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง แบบต่างๆ ฯลฯ มาใช้ในการปรับปรุง (TQC) ประจ�าปี ๒๕๖๒” ที่ มหาวิทยาลัย
มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดี กระบวนการพัฒนาคุณภาพที่ตอบ มหิดล และคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า การที่จะ โจทย์ประเทศชาติและสังคม ซึ่งการ รามาธิบดีได้รับนี้ ไม่ได้ตอบโจทย์เพียง
ท�าให้องค์กรขับเคลื่อนไปข้างหน้า ผู้น�า ที่มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับรางวัล TQC นี้จะ เพราะได้รางวัล แต่ตอบโจทย์ความเป็น
องค์กรต้องให้ความส�าคัญต่อการพัฒนา เป็นการยืนยันได้ว่า เราใช้ระบบคุณภาพ “ปัญญาของแผ่นดิน” ที่มหาวิทยาลัย
คุณภาพที่ตอบโจทย์ต่อสังคม ซึ่งปัจจัย ได้อย่างมีประสิทธิผล และจะมีการน�า มหิดลมุ่งหวังเพื่อประชาชน และประเทศ
สู่ความส�าเร็จเกิดจากความตระหนัก ผลการประเมินมาใช้พัฒนาอย่างต่อ ชาติด้วย
รู้ว่าเรื่องของคุณภาพเป็นเรื่องส�าคัญ เนื่องเพื่อคุณภาพที่ยั่งยืน สู่การเป็น
และจ�าเป็ นต้องด�าเนินการไปสู่ มหาวิทยาลัยระดับโลกต่อไป
มหิดลสาร ๒๕๖๓ 17