Page 13 - MU_1Jan62
P. 13
รูปธรรม ซึ่งให้ความส�าคัญกับสาระ
การเรียนรู้ ที่เน้นบูรณาการเนื้อหา
สาระที่ตอบสนองกระแสการพัฒนา
ในยุคที่วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เป็นฐานคิดหลักในการพัฒนา
การจัดการเรียนรู้ส�าหรับผู้เรียนผ่านสื่อ
การเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ผ่านงานวิจัย และแนวปฏิบัติจาก
ประสบการณ์จริง (Flipped classroom)
ตลอดจนเปิดโอกาสให้ผู้เรียน
ได้ศึกษาดูงาน พูดคุย และอภิปราย
กับบุคลากรในสายงาน ซึ่งเป็นการ
เรียนการสอนในสภาพแวดล้อมที่เอื้อ เป็ นคณะที่มีความโดดเด่นด้าน ปฏิบัติกับ Kunming Medical University
ต่อการเรียนรู้อย่างแท้จริง นอกจากนี้ การจัดการศึกษาแก่บุคลากร มณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐ
ยังเปิดโอกาสให้เกิดการสื่อสาร ทางการแพทย์ทั่วโลก พร้อมทั้งมี ประชาชนจีน ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒
และแลกเปลี่ยนทางด้านวิชาการ บุคลากรที่มีความสามารถด้านการ โดยมีการจัดหลักสูตรฝึกอบรม และ
ทั้งในระดับคณะ และระดับ สอนและการวิจัยในระดับนานาชาติ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านชีววิทยาการ
มหาวิทยาลัย กับประเทศที่มี อีกทั้งมีโรงพยาบาลที่มีความ แพทย์ชั้นสูง (Advanced biomedical
ศักยภาพสูงในการสร้างความร่วมมือ เชี่ยวชาญด้านการให้บริการผู้ป่วย sciences) และชั้นปรีคลินิกส�าหรับ
ต่อกันอย่างเป็นรูปธรรม อันจะเป็น โรคเขตร้อนที่เป็ นแหล่งอ้างอิง อาจารย์แพทย์ (Pedagogy) ของทั้ง
ประโยชน์ต่อการเสริมสร้างภาพ ระดับภูมิภาคและระดับโลก ซึ่ง สองสถาบัน ซึ่งมุ่งเน้นการสร้าง
ลักษณ์ของมหาวิทยาลัยมหิดลใน นักศึกษาแพทย์ที่เข้าศึกษาดูงานมี มาตรฐานความรู้ความเข้าใจที่ถูก
ด้านการสร้างเครือข่ายความเป็น โอกาสได้เรียนรู้ถึงบทบาทส�าคัญ ต้องในการจัดการเรียนรู้ด้านชีววิทยา
นานาชาติ ให้เพิ่มพูนขึ้นตามแนว ของโรงพยาบาล ในฐานะที่เป็นโรงเรียน การแพทย์ การทบทวนหลักฐานที่เป็น
นโยบายการสร้ างความเป็ น แพทย์และโรงพยาบาลภายใต้สังกัด งานวิจัย เพื่อศึกษาแนวทาง เครื่อง
นานาชาติของมหาวิทยาลัย ของมหาวิทยาลัยมหิดลที่บูรณาการ มือและสื่อการเรียนรู้ ซึ่งเป็นกลยุทธ์
เพื่ อเตรี ยมพร้ อมรั บการ ภาระกิจต่างๆ ได้อย่างสอดคล้อง ใหม่ในการปรับปรุงวิธีการสอน
เปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี กลมกลืน กล่าวคือ ให้บริการผู้ป่วย ชีววิทยาการแพทย์ให้มีประสิทธิภาพ
ใหม่ๆ (Disruptive technology) จัดการเรียนการสอนแพทย์ ทั้งก่อน สูงขึ้น รวมไปถึงการส่งเสริมความร่วม
ที่เกิดขึ้นในโลกปัจจุบัน และหลังปริญญารวมทั้งเป็นโรง มือทางวิชาการระหว่างสถาบันที่มี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ พยาบาลที่มีการท�าวิจัยทางด้านการ ศักยภาพสูงในภูมิภาค ซึ่งโครงการดัง
กิตติยศ ภู่วรวรรณ รองผู้อ�านวยการ แพทย์และวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวนี้ประสบความส�าเร็จอย่างดี
โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน คณะ ควบคู่ไปด้วย และได้ รับความร่ วมมือจาก
เวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย คณาจารย์ และแพทย์หลากหลาย
มหิดล ซึ่งเป็นผู้น�าการต้อนรับดูงาน มหิดล ได้ริเริ่มสถาปนาความ สาขาจากคณะวิทยาศาสตร์ และ
ในครั้งนี้ กล่าวว่า คณะเวชศาสตร์ สัมพันธ์และความร่วมมือด้าน คณะอื่นๆ ภายใต้ สังกัดของ
เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล วิชาการที่เป็ นรูปธรรมในภาค มหาวิทยาลัยมหิดล Mahidol
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 13