Page 19 - MU_3Mar61
P. 19

Teaching&Learning Excellence



                     รางวัลอาจารย์ตัวอย่างของสภาคณาจารย์


                                    มหาวิทยาลัยมหิดล ประจ�าปี ๒๕๖๐


                                รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ทวีศักดิ์               ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แพทย์หญิง
                             แทนวันดี  อาจารย์ประจ�าสาขาวิชาโรค              สารนาถ ล้อพูลศรี นิยม ภาควิชา
                             ระบบทางเดินอาหาร  ภาควิชา                       สุขวิทยาเขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขต
                             อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราช                ร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวถึงความ
                             พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับคัด               ภาคภูมิใจที่ได้รับคัดเลือกเป็นอาจารย์
                             เลือกให้เป็นอาจารย์ตัวอย่างของสภา               ตัวอย่างของสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัย
               คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจ�าปี ๒๕๖๐ นอกจากการ มหิดล ว่า มีความภูมิใจกับรางวัลนี้เป็นอย่างมาก เพราะตั้งใจ
               ท�างานด้านการเรียนการสอนที่ท่านมีคุณลักษณะของความเป็น และมุ่งมั่นกับงานด้านการเรียนการสอนและดีใจที่มีคนมองเห็น
               อาจารย์ที่น่านับถือเป็นแบบอย่างแล้ว ท่านยังเป็นผู้เชี่ยวชาญ ในความตั้งใจนี้ รางวัลอาจารย์ตัวอย่างจึงถือเป็นก�าลังใจใน
               ทางด้านโรคตับและโรคระบบทางเดินอาหาร มีผลการวิจัยที่โดด การท�างาน เพราะเมื่อเราท�าเต็มที่แล้ว และไม่ได้คาดหวังกับ
               เด่นและได้รับค�าชมเชยเป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ ผลส�าเร็จมากจนเกินไป คือ “เต็มที่ในเหตุ พอใจในผล”
               มากมาย โดยผลงานที่ได้รับการยอมรับเป็นอย่างมาก     และเมื่อกล่าวถึงบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ผู้สอน คิดว่า
                  รศ.นพ.ทวีศักดิ์ กล่าวว่า ในผู้ป่วยที่เป็นโรคไวรัสตับอักเสบ  เราควรให้นักศึกษารู้ว่าเราตั้งใจท�างานและมีจุดยืนกับงาน
               เรื้อรัง คือ ไวรัสตับอักเสบชนิดบี และชนิดซีนั้น คาดว่ามีคนไทย  ด้านการเรียนการสอน  เพราะมหาวิทยาลัยมหิดลมี
               เป็นสองโรคนี้ไม่ต�่ากว่า ๕ ล้านคน ถือเป็นปัญหาส�าคัญของ  มาตรฐานตามหลักสูตรที่ก�าหนดอยู่แล้ว ซึ่งในการสอน
               ประเทศในระดับหนึ่ง เพราะโรคดังกล่าวอาจก่อให้เกิดโรค  แต่ละครั้ง ก็จะมีการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมไว้ด้วย
               แทรกซ้อนได้หลายโรค เช่น ตับแข็ง มะเร็งตับ ฯลฯ ซึ่งก็พบได้  เสมอ งานด้านการเรียนการสอน ถือเป็นหน้าที่หลักใน
               บ่อยในคนไทย จึงได้มีการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบการใช้ยา  ต�าแหน่งอาจารย์  ซึ่งในแต่ละความแตกต่างระหว่างบุคคล
               ส�าหรับรักษาผู้ป่วยที่เป็นไวรัสตับอักเสบชนิดบีในเรื่องของ   เป็นอีกหนึ่งเรื่องที่ผู้สอนต้องคิด เพราะนักศึกษาแต่ละคน
               “ประสิทธิผลและความปลอดภัยของยา Entecavir (เอน   นั้นมีพื้นฐานไม่เหมือนกัน เราจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนการ  19
               เทคคาเวียร์) เทียบกับ Tenofovir (ทีโนโฟเวียร์) ในการ  สอนไปตามผู้เรียนที่เราปฏิสัมพันธ์ด้วย  ฉะนั้นผู้สอนจึงต้อง
               รักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบชนิดบี เรื้อรัง” ซึ่งพบว่ายาทั้ง ๒   ฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะที่จะแก้ปัญหา และเมื่อก้าวออกไปข้าง
               ชนิด ไม่มีความแตกต่างกัน และให้ผลในการรักษาดีมาก   นอกสถาบันแล้ว สามารถยืนได้ด้วยตนเองอย่างมั่นคง
               สามารถกดเชื้อไวรัสได้เป็นที่น่าพอใจ รวมถึงลดภาวะแทรกซ้อน  การศึกษาในยุคปัจจุบันนี้ ความรู้ทุกอย่างอยู่บนก้อน
               ของผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี เป็นที่น่าดีใจว่าในปัจจุบันยาทั้ง ๒ ตัว  เมฆ (Cloud) สิ่งที่ต้องศึกษา คือ ทักษะ ดังนั้นเราจึงต้อง
               ได้รับการบรรจุให้อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติเป็นที่เรียบร้อย คิดเสมอว่า จะท�าอย่างไรที่จะให้เขาหาความรู้และ
               แล้ว ท�าให้ผู้ป่วยไม่ว่าจะใช้สิทธิการรักษาใดก็สามารถเข้าถึง ข้อมูลที่ถูกต้อง ซึ่งการสอนในอดีตแตกต่างกับการสอนใน
               การรักษาได้ง่ายขึ้น หากผู้ป่วยเกิดไวรัสเดื้อต่อยาตัวหนึ่งก็ ปัจจุบัน เพราะแค่เพียงกดปุ่มเปิดโทรศัพท์ก็สามารถค้นหา
               สามารถใช้ยาอีกตัวหนึ่งทดแทนได้ ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้จะช่วยเพิ่ม ข้อมูลได้แล้ว เราจึงจ�าเป็นต้องสอนให้เขาคิดแบบการ
               ข้อมูลในการตัดสินใจส�าหรับแพทย์ผู้ท�าการรักษามากขึ้น และ จัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นพื้นฐาน (Project-
               ที่ส�าคัญเมื่อได้รับการบรรจุในบัญชียาหลักท�าให้ราคายาถูกลง Based Learning)  โดยมีผู้สอนท�าหน้าที่คอยชี้น�าในส่วนของ
               ถึง ๕ เท่า ถือเป็นผลดีต่อผู้ป่วยและประเทศชาติเป็นอย่างมาก ผู้เรียนที่ไม่มีความเชี่ยวชาญมากพอ และเมื่อความรู้ของเขา

                  นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการรักษาไวรัสตับอัก  กระจัดกระจาย  เราก็ต้องท�าหน้าที่เป็นเฟรมความรู้และคอย
               เสบชนิดบีที่น่าสนใจอื่นๆ อีก เช่น ส�าหรับผู้ป่วยที่ได้รับยากด  โฟกัสให้เขาเข้ามาถูกที่ถูกทาง ฝึกให้เขาสามารถหาความรู้
               ภูมิ ความที่ไวรัสตับอักเสบบีพบได้บ่อยในคนไทย ผู้ป่วยโรคข้อ  เองได้ และรู้จักการแก้ปัญหา เมื่อมีการฝึกปฏิบัติ ในการ
               รูมาตอยด์ (Rheumatoid) จ�านวนหนึ่งก็อาจมีไวรัสตับอักเสบ   อภิปรายร่วมกันกับผู้เรียน (Discuss) ก็จะท�าให้รู้ว่าผู้เรียนน�า
               บี หากมีการให้ยากดภูมิ บางรายอาจท�าให้เชื้อไวรัสตับอักเสบ  ข้อมูลมาใช้ถูกต้องหรือไม่ ผู้สอนสามารถชี้น�าทางด้านข้อมูล
               ชนิดบีก�าเริบได้ ซึ่งจากการศึกษาวิจัยพบว่า ยากดภูมิบางตัวที่  ที่ถูกต้องได้โดยใช้ความคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking)
               มีการใช้บ่อยๆ ในผู้ป่วยที่เป็นโรคข้อรูมาตอยด์ (Rheumatoid)   ส่วนส�าคัญในความส�าเร็จ คือ การท�างานเป็นทีม (Team
               และโรคสะเก็ดเงิน คือ ยาเมโทเทรกเซท (Methotrexate) อาจ Work)  เราไม่สามารถท�างานทุกอย่างเองได้  ต้องดูว่างาน
               ท�าให้ไวรัสบีก�าเริบหรือไม่ซึ่งพบว่าเชื้อไวรัสไม่ก�าเริบ ดังนั้นหาก ไหนที่คนอื่นท�าไม่ได้นอกจากเรา และงานไหนที่คนอื่นอาจ
               ผู้ป่วยที่ไวรัสสงบหมายความว่าก็ไม่จ�าเป็นต้องให้ยากดไวรัส จะท�าได้ดีกว่าเรา จ�าเป็นที่จะต้องมีทีมที่คอยช่วยเหลือกัน
               เพิ่มในผู้ป่วยกลุ่มนี้ ลดค่าใช้จ่ายและลดอาการข้างเคียงจากยา เขาช่วยเรา เราช่วยเขา เพราะเมื่อสร้าง Team Work ขึ้นมา
               โดยไม่จ�าเป็นอีกด้วย Mahidol           ศรัณย์ จุลวงษ์  การท�างานก็จะส�าเร็จได้ด้วยดี  Mahidol      สาธิดา ศรีชาติ


                                                                                                    มหิดลสาร ๒๕๖๑
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24