Page 24 - MU_3Mar61
P. 24

Teaching&Learning Excellence
            ฐิติรัตน์ เดชพรหม



                  “ในงานวิจัยนี้เราเอาชิ้นส่วนเลโก้
               เหล่านี้มาประกอบเป็นฟิล์มบาง โดย
               ตัวเลโก้นี้เหมือนว่าจะมีขนอยู่รอบๆ
               เหมือนลูกเงาะซึ่งเมื่อน�ามาชนกัน จะ
               สามารถเกาะกันเป็นโครงสร้างต่างๆได้
               โดยเป็นฟิล์มที่บางมาก มีความหนา
               เพียงแค่ความหนาของ ๑ ตัวเลโก้ (5-
               10 nm) ซึ่งฟิล์มบางที่ได้จะมีความ
               เสถียรภาพและความ sensitive สูง
               มาก สามารถน�ามาใช้เป็นตัวเซ็นเซอร์
               ต่างๆ ได้ ข้อดีของการใช้ตัวเลโก้ขนาด
               เล็กนี้  คือเลโก้มีให้เลือกหลายแบบ
               หลายทรง เราสามารถเปลี่ยนวัสดุที่ท�า  มีอัตราส่วนปัวซองเป็นหนึ่งในคุณสมบัติ  ตรวจจับความเป็นแม่เหล็กได้ ขึ้นอยู่
               เป็นเลโก้ได้ เช่น ทอง เงิน เหล็ก ซิลิกอน   พื้นฐานที่มีความส�าคัญ เราจ�าเป็นต้อง กับว่าเราจะเลือกชิ้นส่วนเลโก้ตัวไหนใน
               หรือสารกึ่งตัวน�าอื่นๆ  ได้  และเรา  รู้ว่าวัสดุที่ใช้มีการหดตัวหรือขยาย การสร้างกลองขนาดจิ๋ว  เพื่อให้มี
               สามารถเลือกชนิดของขนบนเลโก้ได้   ตัวอย่างไรเมื่อมีแรงมากระท�า เพื่อน�า คุณสมบัติเจาะจงในการตอบสนองกับ
               ซึ่งการเลือกใช้เลโก้ขนาดจิ๋วที่ต่างกัน  วัสดุมาใช้ได้อย่างเหมาะสม ฟิล์มบาง สิ่งที่เราต้องการตรวจจับ
               ในการสร้างฟิล์มบางนี้ ฟิล์มบางที่ได้  อิสระจากอนุภาคนาโนมีขนาดเล็กมาก   นอกจากงานวิจัยที่กล่าวมานี้ ดร.
               ย่อมมีคุณสมบัติที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย   ซึ่งไม่สามารถน�ามาดึงและดูการยืด  พงศกร  กาญจนบุษย์  ยังรักที่จะ
               จึงท�าให้เราสามารถสร้างเซ็นเซอร์ที่มี  และหดด้วยวิธีปกติอย่างวัสดุทั่วไป เรา  เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เมื่อ
               คุณสมบัติแตกต่างกันได้ ขึ้นอยู่กับตัว  ต้องท�าการคิดค้นการวัดแบบใหม่โดย  ใดที่เราหยุดเรียนรู้ ก็เหมือนเราเดินถอย
               เลโก้ที่เราจะใช้ เราสามารถเลือกเลโก้  ใช้ผ่านเครื่องมือที่เรียกว่า Focused   หลัง โดยปัจจุบันได้ท�างานวิจัย ๓ ด้าน
               ที่เหมาะสมไปใช้กับงานต่างๆ ได้ ทั้งใน  Ion Beam (FIB) โดยใช้ล�าแสงไอออน
  24           งานอุตสาหกรรม และทางการแพทย์   ในการตัดฟิ ล์มบางให้มีลักษณะที่  หลัก  ด้านแรก คือ ท�าเซลล์แสง
                                                                             อาทิตย์แบบใหม่ชนิดเพอรอฟ
               เช่น เราอาจใช้เลโก้ที่มีคุณสมบัติใน  เจาะจง แล้วใช้ล�าแสงอิเล็กตรอนมา    สไกท์ (perovskite solar cells) ด้าน
               การจับตัวกับเซลล์มะเร็ง งานวิจัยนี้เป็น   กระตุ้นให้หดและขยายแทนการดึง  สอง คือ ท�า LEDs แบบใหม่ ที่เรียก
               platform ที่เราสามารถเปลี่ยนสารได้   แบบปกติ และวิเคราะห์ต่อเพื่อค�านวณ  ว่า perovskite LEDs ซึ่งข้อเด่นของ
               ท�าให้มี application ที่หลากหลาย ขึ้น  ค่าอัตราส่วนปัวซอง ถือเป็นครั้งแรก  สองงานนี้คือ ความสามารถสร้างทั้งโซ
               อยู่กับว่าเราจะประยุกต์อย่างไร กับ   ของโลกที่สามารถวัดค่าปัวซองของ  ลาร์เซลล์ และ LEDs ได้จากสารละลาย
               application ไหน” ดร.พงศกร กาญ  วัสดุขนาดจิ๋วนี้ได้ เนื่องจากเป็นสิ่ง  ท�าให้มีราคาถูกและสามารถขึ้นรูปได้
               จนบุษย์ กล่าว                  ที่วัดยาก ยังไม่มีใครสามารถท�าได้  ด้วยกระบวนการที่ง่าย เช่น ฉีดสเปรย์
                  จากการท�างานวิจัยดังกล่าว ดร.  มาก่อน นอกจากนี้ ยังมีการใช้ฟิล์ม  นอกจากราคาที่ถูกลงแล้วยังสามารถ
               พงศกร  กาญจนบุษย์  ได้ค้นพบ         บางอิสระจากอนุภาคนาโนเป็ น  พัฒนาต่อให้เป็นโซลาร์เซลล์ที่มีสีต่างๆ
               เทคนิคใหม่ๆ เป็นครั้งแรกของโลก  อุปกรณ์สั่นระดับนาโน (nano drum)   หรือยืดหยุ่นได้อีกด้วย ด้านสาม คือ
               อาทิ เทคนิคใหม่ในการวัดอัตราส่วน โดยเราสามารถดูโหมดการสั่นว่า  ท�าฟิล์มระบายความร้อน เป็นฟิล์ม
               ปัวซอง (Poisson’s ratio) ของฟิล์ม เป็นอย่างไรเป็นครั้งแรกของโลก ซึ่ง  บางเจเนอเรชั่นใหม่ ฟิล์มบางในแบบ
               บางอิสระจากอนุภาคนาโนและใช้ การสั่นเป็นสิ่งที่ sensitive เช่น ถ้าเกิด  เดิมเป็นการลดความร้อนที่จะเข้ามาใน
               ฟิ ล์มบางอิสระจากอนุภาคนาโน เรามีตัวกลองที่เราวัดความสั่นอยู่ แล้ว  บ้าน แต่ฟิล์มบางใหม่ที่เราท�าจะไม่แค่
               เป็นอุปกรณ์สั่นระดับนาโน เกี่ยวกับ มีสารอะไรมาเกาะ ความสั่นก็เปลี่ยน  ลดความร้อนเข้าบ้าน เราสามารถดึง
               เรื่องนี้ ดร.พงศกร  กาญจนบุษย์  ไปด้วย เหมือนเราเอาของมาตั้งบน  ความร้อนจากในบ้านออกมาได้ด้วย
               อธิบายว่า เมื่อเราดึงวัสดุ เช่น แผ่นยาง  กลอง ความสั่นก็จะเปลี่ยนไปด้วย ซึ่ง  โดยใช้ปรากฎการณ์ที่เรียกว่า radia-
               ด้านที่โดนดึงจะขยาย อีกด้านจะหดตัว  หลักการนี้สามารถน�ามาประยุกต์ใช้  tive cooling effect  Mahidol
               อัตราส่วนปัวซองจะบอกถึงอัตราส่วน เป็นตัวเซ็นเซอร์ได้ เช่น เซ็นเซอร์ที่ใช้
               ของการหดตัวของด้านที่ไม่ถูกดึงต่อ ตรวจจับความดัน เซ็นเซอร์ตรวจจับ
               การขยายตัวของอีกด้าน วัสดุต่างๆ จะ สารต่างๆ เช่น แอมโมเนีย หรือเซ็นเซอร์








         March 2018                                               M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28