Page 16 - MU_3Mar61
P. 16

Special Scoop
            ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร อาจารย์ประจ�าหลักสูตรภาษาศาสตร์
            สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
                 บูรณาการศาสตร์



                                ด้านการวิจัยของชุมชน              สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ

























                  จากโครงการวิจัย “การบันทึกความ  ข้อดีของการท�างานร่วมกันกับ สนามครั้งแรก ณ บ้านขนาดปรีง ต.เชื้อ
               รู้ทางด้านพฤกษศาสตร์ของกลุ่ม ชุมชนและผู้รู้ข้ามศาสตร์ ท�าให้มีการ เพลิง อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ อันดับแรก
               เขมรถิ่นไทย: การท�างานร่วมกันของ เชื่อมโยงองค์ความรู้และเรียนรู้ซึ่งกัน คือการรู้จักและเข้าใจชุมชน ต่างฝ่าย
               นักภาษาศาสตร์ นักพฤกษศาสตร์  และกัน และการประชุมเชิงปฏิบัติการ ต่างเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ชุมชนมีความ
               และคนในชุมชน” ที่มีการอบรมเชิง นั้นก็หมายถึงลงมือปฏิบัติจริง น�าไปสู่ รู้ภูมิปัญญา  เรามีความรู้วิธีในการ
               ปฏิบัติการครั้งแรกไปเมื่อเร็วๆ นี้ ณ  การบูรณาการกับรายวิชาภาษาศาสตร์ จัดการข้อมูล  โดยมีเครื่องมือทาง
               สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย  ภาคสนามของหลักสูตรภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตร์มาเป็นตัวช่วย ทั้งยังได้
  16           มหาวิทยาลัยมหิดล และชุมชนบ้าน ได้เป็นอย่างดี ครั้งนี้ นักศึกษาศิลป ส�ารวจพื้นที่ “ป่าตาเกาว์” ป่าของชุมชน
               ขนาดปรีง อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ นั้น  ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษา  ที่รวบรวมพันธุ์ไม้ ซึ่งเป็นห้องสมุดทาง
               หลายท่านอาจจะมีความสับสนหรือมี ศาสตร์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒน  พฤกษศาสตร์ขนาดใหญ่ หากพันธุ์ไม้
               ค�าถามอยู่ภายใจว่า “ภาษาศาสตร์  ธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ๔ คน  เหล่านั้นคือหนังสือ ปราชญ์ชาวบ้าน
               พฤกษศาสตร์   คนในชุมชนมา ได้ร่วมเรียนรู้ ลงพื้นที่จริง และได้สัมผัส และคนในชุมชนก็เป็นครูผู้อ่านหนังสือ
               เกี่ยวข้องกันได้อย่างไร?” ความรู้ของ ความรู้สึกและประสบการณ์ดีๆ จาก นั้นให้เราฟัง เราในฐานะนักวิจัยจะท�า
               ชุมชนแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ต่างมีภาษา ชุมชน  จึงอยากน�าความรู้ สึกของ อย่างไร ให้ความรู้เหล่านั้นไม่หลุดลอย
               และวัฒนธรรมเป็นของตนเอง ซึ่งล้วน นักศึกษาถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมสัมผัส และสามารถเปิ ดอ่านได้จนชั่วลูก
               แล้วแต่เป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อเยาวชนรุ่น ประสบการณ์ไปด้วยกัน ซึ่งนับเป็น หลาน” (นักศึกษาคนที่ ๒)
               หลัง รวมทั้งป่าชุมชนที่เป็นทั้งแหล่ง ความรู้สึกของนักศึกษาภาษาศาสตร์ที่  จากตอนแรกที่นักศึกษากลัวความ
               อาหาร และยารักษาโรคของคนในชุม ได้ไปภาคสนามครั้งแรกในชีวิตก็ว่าได้  ล�าบากในการลงภาคสนาม เมื่อได้ไป
               ชนนั้นๆ อย่างเช่น ชาวเขมรถิ่นไทย ที่  “ความรู้สึกที่ได้จากการไปงานภาค ในพื้นที่จริงๆ ได้รู้ ได้เห็นและได้สัมผัส
               บ้านขนาดปรีง อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ นับ  สนามในครั้งนี้ คือการได้เข้าไปสัมผัส กับความเป็นกันเองของคนในชุมชน ส่ง
               ว่าเป็นสิ่งที่ไม่น่าเชื่อว่าชาวเขมรถิ่นไทย  ประสบการณ์จริงและการเรียนรู้ไป ผลท�าให้ความรู้สึกตัวของนักศึกษา
               ที่มีจ�านวนมากกว่าล้านคนในประเทศ   พร้อมกับชุมชน ซึ่งประทับใจเป็นอย่าง เปลี่ยนแปลงไปในทางตรงกันข้าม คือ
               ไทยมีภาวะภาษาและวัฒนธรรมถด     มากครับ เพราะถึงแม้การอ่านหนังสือ  เปลี่ยนใจไม่กลัวการลงไปภาคสนาม
               ถอยอย่างมาก จนนักภาษาศาสตร์ได้  หรือเรียนในห้องเรียนจะได้ความรู้แต่ อีกเลย เนื่องจากความรู้ไม่ได้มีอยู่แต่ใน
               ร่วมมือกับชุมชน เพื่อบันทึกความรู้  การออกไปสัมผัสกับสถานการณ์จริง  ชั้นเรียนหรือในโลกอินเทอร์เน็ตเท่านั้น
               ภูมิปัญญาในการส่งต่อไปยังลูกหลาน  ย่อมส่งผลดีกว่าเพราะเป็นการเรียนรู้ที่ ความรู้สามารถอยู่ได้ทุกหนทุกแห่ง ไม่
               ในอนาคต วิธีการถ่ายทอดความรู้ที่เคย  ใช้ผัสสะหลายๆ อย่างพร้อมกัน มีการ ว่าจะเป็นความรู้ในตัวคนหรือความรู้ใน
               ปฏิบัติมาคือ การเล่าปากต่อปาก หาก  แก้ไขสถานการณ์และแลกเปลี่ยนทั้ง ป่าหรือในชุมชนก็ตาม หากเราสนใจใฝ่
               มีระบบตัวเขียนก็จดบันทึก  แต่ใน  กับอาจารย์ คนในชั้นเรียน และชุมชน  รู้ทุกอย่างล้วนแล้วแต่มีประโยชน์ ยิ่งได้
               ปัจจุบันเทคโนโลยีก้าวหน้า สามารถ  รวมถึงการได้ปรับเปลี่ยนแง่มุม และ ปฏิบัติจริงยิ่งเข้าใจ อย่ามัวแต่จินตนา
               บันทึกในรูปแบบดิจิทัลได้ในปริมาณ  การใช้ชีวิตที่ต้องปรับไปตามสภาพ การอยู่เลย ลงมือศึกษาและปฏิบัติร่วม
               มาก และมีคุณภาพดี สามารถเก็บรักษา  แวดล้อมเพื่อให้งานออกมามี กัน แล้วคุณจะรู้ว่าการท�างานร่วมกัน
               ได้เป็นระยะเวลานาน จึงเกิดโครงการ  ประสิทธิภาพ” (นักศึกษาคนที่ ๑)  ของคนต่างสาขาความรู้มีประโยชน์
               วิจัยดังกล่าวขึ้นมา              “ความประทับใจในการลงภาค      ช่วยเสริมกันได้  Mahidol


         March 2018                                               M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21