Page 9 - MU_2Febr61
P. 9

Harmony in Diversity
                                                                                                    ศรัณย์ ธรรมทักษิณ


                 หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล

                                    พัฒนาห้องสมุดดิจิทัล ให้กับสมาคมอาศรม

                                                     วัฒนธรรมไทย-ภารต






















                  เมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๑ ดร.     วัฒนธรรมไทย-ภารต และ ดร.อภิภู  อนุรักษ์ทรัพยากรสื่อสิ่งพิมพ์ทางด้าน
                รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุล ผู้อ�านวยการ สิทธิภูมิมงคล รองผู้อ�านวยการฝ่าย ภารตะศึกษาหรืออินเดียศึกษา จึงจัด
                หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัย พันธกิจพิเศษ หอสมุดและคลังความรู้ฯ  ท�าโครงการพัฒนาห้องสมุดอาศรม
                มหิดล ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความ เป็นสักขีพยานในการลงนามบันทึกข้อ วัฒนธรรมไทย-ภารต (ห้องสมุดสวามี
                ร่วมมือทางวิชาการร่วมกับ ศาสตรา  ตกลงดังกล่าว                สัตยานันทปุรี) โดยอาศัยบุคลากรผู้มี
                จารย์เกียรติคุณ  ศรีสุรางค์  พูล  สมาคมอาศรมวัฒนธรรมไทย-ภารต   ความรู้ความสามารถ และเชี่ยวชาญใน
                ทรัพย์ นายกสมาคมอาศรมวัฒนธรรม  เป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้และ  การจัดระบบทรัพยากรสารสนเทศด้วย
                ไทย-ภารต  เพื่อพัฒนาห้องสมุด  สื่อสารสนเทศทางด้านภาษาและ     เทคโนโลยีอันทันสมัย เพื่อยกระดับให้     9
                ดิจิทัล: ห้องสมุดอาศรมวัฒนธรรม  วัฒนธรรมอันทรงคุณค่าของทั้งไทย  ห้องสมุดอาศรมวัฒนธรรมไทย-ภารต
                ไทย-ภารต (ห้องสมุดสวามี สัตยา  และอินเดีย ปัจจุบันมีหนังสือหายากทั้ง  เป็นห้องสมุดดิจิทัลที่ทันสมัยและได้
                นันทปุรี) ณ ห้องประชุมชั้น ๒ อาคาร  ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาฮิน  มาตรฐาน พร้อมให้บริการแก่ชาวไทย
                หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัย  ดี จ�านวนมากกว่า ๔,๐๐๐ รายการ ที่  และชาวอินเดียในไทย  ตลอดจน
                มหิดล  โดยมี  รองศาสตราจารย์   ยังไม่ได้จัดหมวดหมู่อย่างเป็นระบบ   ประชาชนผู้สนใจทั่วไปก็สามารถเข้าถึง
                ดร.โสภนา ศรีจ�าปา ประธานศูนย์ภาร  ด้วยเหตุนี้ทางสมาคมอาศรมวัฒน   แหล่งเรียนรู้ทางภาษาและวัฒนธรรม
                ตะศึกษา  สถาบันวิจัยภาษาและ   ธรรมไทย-ภารต และหอสมุดและคลัง  แห่งนี้ได้ นอกจากนี้ยังเป็นการเสริม
                วัฒนธรรมเอเชีย ม.มหิดล คุณราช   ความรู้ฯ เล็งเห็นถึงความส�าคัญของ  สร้างความสัมพันธ์อันดีที่มีมาอย่าง
                มัตตา  เลขานุการสมาคมอาศรม    การพัฒนาทางวิชาการ  และการ     ยาวนานระหว่างชาวไทย-ภารต  Mahidol


                พื้นที่ปลูกข้าว และแหล่งเลี้ยงสาหร่าย  สารประกอบที่น�าไปสู่การดัดแปลงและ วิจัยต่อวงการวิทยาศาสตร์เคมีและ
                ร่วมกับกลุ่มวิจัยอื่นๆ ทั้งในประเทศ พัฒนาวิธีการเตรียมสารประกอบเคมี วัสดุศาสตร์ของโลก
                และต่างประเทศต่อไป            อื่นๆ ในกลุ่มใกล้เคียง นอกจากนี้ ยังน�า  มหาวิทยาลัยมหิดลเป็ นมหา
                  สาขา Chemical & Pharmaceuti-  สาร ประกอบเคมีที่สังเคราะห์ได้จาก  วิทยาลัยวิจัยที่มีบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ
                cal Sciences ได้แก่ รองศาสตราจารย์   กลุ่มเหล่านี้มาใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา  ด้านการวิจัยที่หลากหลาย มีความ
                ดร. วุฒิชัย เอื้อวิทยาศุภร นักวิจัย   ชนิดต่างๆ เพื่อผลิตสารเคมีที่ใช้เป็น  พร้อมในทุกด้านที่จะช่วยสนับสนุนการ
                สกว.สังกัดภาควิชาเคมี คณะวิทยา   สารเติมแต่งในอุตสาหกรรมไฮบริด  วิจัย ร่วมถึงนโยบายด้านการสร้างผล
                ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จากผล  พลาสติก หรือใช้เปลี่ยนเป็นพอลิเมอร์  งานวิจัยที่มีคุณภาพระดับมาตราฐาน
                งานการวิจัย เรื่อง “โมเลกุลนาโนไฮ  ยางสังเคราะห์ชนิดใหม่ โดยงานวิจัยใน  สากล ตรงกับความต้องการของสังคม
                บริดสู่นวัตกรรมวัสดุ” จากวิธีการเตรี  ปัจจุบันเน้นหนักไปทางด้านการพัฒนา  และการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม
                ยมสารประกอบนาโนไฮบริดที่มี    วัสดุตรวจวัดทางเคมีเซ็นเซอร์และวัสดุ  ใหม่อย่างชัดเจนเสมอมา  Mahidol
                โครงสร้ างหลากหลายแบบใหม่     ดูดซับเพื่อลดความเป็นพิษของสิ่ง
                สามารถอธิบายถึงกลไกการเกิด    แวดล้อม ซึ่งส่งผลให้เกิดการพัฒนา




                                                                                                    มหิดลสาร ๒๕๖๑
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14