Page 10 - MU_2Febr61
P. 10

Harmony in Diversity
            ฐิติรัตน์ เดชพรหม


















               คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดตัวโครงการ


                 “บางกอกน้อยโมเดล”                               สุขภาพดีเริ่มต้นได้

                                                                                  ด้วยปลายนิ้ว



                  ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงสร้างของ
               ประชากรที่เปลี่ยนแปลงไป คาดการณ์
               ว่าในอีก ๓ ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะ
               เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ โดยมี
               จ�านวนประชากรผู้สูงอายุสูงถึง ๑๓
               ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ของจ�านวน
               ประชากร ซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากอัตรา
               การเกิดต�่าควบคู่ไปกับอัตราการตายต�่า
               คนไทยมีชีวิตยืนยาวขึ้น ระบบสาธารณ
  10           สุขควรเป็นระบบแรกที่เตรียมความ

               พร้อมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงนี้
               คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
               มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะสมาชิกใน  เสริมสุขภาพอย่างตรงจุดในแต่ละ สตรีวัดระฆัง โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย
               ชุมชนบางกอกน้อย ร่วมกับ ส�านักงาน  ช่วงอายุ จึงมีการพัฒนาระบบฐาน โรงเรียนสวนอนันต์ โรงเรียนมัธยมวัด
               กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ   ข้อมูลสุขภาพเพียงแค่ปลายนิ้วที่ ดุสิตาราม โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
               (สสส.) จัดท�าโครงการบางกอกน้อย  ออกแบบมาเพื่อให้ทุกคนสามารถ โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม วัด ร้าน
               โมเดล  “สุขภาพดีเริ่มต้นได้ด้วย  กรอกข้อมูลของตนเองได้อย่าง ค้า  ภาคีด้านนักศึกษาจาก  คณะ
               ปลายนิ้ว” เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการ  ปลอดภัย ผ่านแอปพลิเคชันและ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
               ดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ ผ่านการ  เว็บไซต์บางกอกน้อยโมเดล (Bang- คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรม
               จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบแอปพลิเคชัน ซึ่ง  koknoi Model Application และ Web- ศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และคณะ
               จะเป็นประโยชน์ในการท�างานเพื่อการ  site)  โดยเปิ ดให้ประชาชนผู้มี สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
               ป้องกันและฟื้นฟูสุขภาพเชิงรุกต่อไป  ทะเบียนบ้าน ผู้พักอาศัย ท�างานหรือ ธนบุรี และชุมชน ซึ่งขณะนี้ได้เริ่มด�าเนิน

                  รองศาสตราจารย์  นายแพทย์ เรียนในเขตบางกอกน้อยเข้ามาก การลงพื้นที่เก็บข้อมูลได้ ๑๐ ชุมชน จาก
               นริศ  กิจณรงค์ รองคณบดีฝ่ายสื่อสาร รอกข้อมูลรายบุคคล ซึ่งจะมีการ ๔๒ ชุมชน โดยตั้งเป้าหมายไว้ที่ร้อยละ
               องค์กรและกิจกรรมเพื่อสังคม คณะ สอบถามใน ๕ มิติ ได้แก่ สุขภาพ  ๖๐ จากจ�านวนประชากรในพื้นที่ หรือ
               แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยา  เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และ ประมาณ ๕๐,๐๐๐ – ๘๐,๐๐๐ คน จาก
               ลัยมหิดล ในฐานะผู้ด�าเนินโครงการ ความปลอดภัย พร้อมกันนี้ก็จะมี  ประชากรในพื้นที่ประมาณ ๑๕๘,๕๕๓
               บางกอกน้อยโมเดล กล่าวว่า บางกอก  “ทีมจิตอาสา”  ที่ลงพื้นที่แนะน�า คน (สัมมโนประชากร ปี ๒๕๕๔) ซึ่งจะ
               น้อยโมเดล  มีการตั้งเป้าหมาย  ระบบฐานข้อมูลและเก็บข้อมูลเชิง ใช้เวลาในการด�าเนินการ ๑ ปี (กันยายน
               เป็ นต้นแบบของการจัดการระบบ รุกในชุมชนควบคู่กัน โดยได้มีการ ๒๕๖๐ - กันยายน ๒๕๖๑) จากนั้น จะ
               สุขภาพเขตเมือง สิ่งส�าคัญคือการ ท�างานร่วมภาคส่วนต่างๆ  ในเขต เดินหน้าสู่ในเฟสต่อไปคือวางแผนกับ
               ท�างานบนฐานข้อมูลที่เชื่อถือได้เป็น บางกอกน้อย อาทิ กรมสารวัตรทหาร ภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่ และน�าข้อมูลมา
               ปัจจุบัน เน้นข้อมูลส�าหรับการสร้าง เรือ ส�านักงานเขตบางกอกน้อย โรงเรียน วางแผนพัฒนาระบบดูแลสุขภาพต่อไป




         February 2018                                            M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15