Page 8 - MU_10Oct60
P. 8

{ Research Excellence
                   ฐิติรัตน์ เดชพรหม



                              ผศ.ดร.มาริสา พลพวก คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล

                       คว้าทุนวิจัยลอรีอัล ประเทศไทย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์”
                                   สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ประจ�าปี ๒๕๖๐




























                  ขอแสดงความยินดีกับ  ผู้ช่วย จริงๆ ยังมีการติดเชื้อ และมีการระบาด  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาริสา พล
               ศาสตราจารย์ ดร.มาริสา พลพวก  ของเชื้อ ซึ่งคนไข้ที่เราพบส่วนใหญ่จะ พวก กล่าวทิ้งท้ายว่า การได้รับทุนนี้
               คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  อยู่บริเวณชายขอบหรือชายแดน และ เป็นก�าลังใจอย่างมาก ไม่ใช่เฉพาะกับ
               ในโอกาสได้รับทุนวิจัยลอรีอัล  มีปัญหาของเชื้อดื้อยาถึงขนาดที่ว่าเรา ตัวเอง แต่รวมถึงผู้ร่วมวิจัย และทีมงาน
               ประเทศไทย  “เพื่อสตรีในงาน ไม่สามารถที่จะใช้ยาที่เราเคยใช้ในการ ทุกๆ ท่านที่มีเป้าหมายเดียวกันว่าท้าย
               วิทยาศาสตร์” (For Women in Sci- รักษาแบบเดิมได้แล้ว”          ที่สุดแล้วหวังว่างานวิจัยของเรา
               ence) ครั้งที่ ๑๕ ประจ�าปี ๒๕๖๐ โดย  ในฐานะอาจารย์ประจ�าภาควิชา     สามารถช่วยแก้ปัญหาสาธารณสุขที่
               บริษัท ลอรีอัล (ประเทศไทย) จ�ากัด ร่วม  จุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหา   ส�าคัญของประเทศได้ งานวิจัยเป็นงาน
               กับส�านักเลขาธิการแห่งชาติ ว่าด้วย  วิทยาลัยมหิดล ผู้ช่วยศาสตราจารย์   ที่ต้องใช้เวลาค่อนข้างนาน เพราะฉะนั้น
               การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม  ดร.มาริสา พลพวก กล่าวว่า หน้าที่หลัก  จะต้องอาศัยความอดทน ความมานะ
               แห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) จัดงาน  ก็คือการสอนและวิจัย โดยงานสอน  ความพยายาม อาศัยเพื่อนร่วมงานที่่มี
               แถลงข่าวและพิธีมอบทุน ในวันที่ ๒๑   เป็นการสอนผ่านการฝึกท�าโจทย์วิจัย   จุดมุ่งหมายเดียวกัน “เราวางเป้า
               กันยายน ๒๕๖๐ ณ โรงแรมแกรนด์ ไฮ  ส่วนงานวิจัย หลักๆ เป็นงานวิจัยที่  หมายสูงสุดไว้โดยหวังว่างานของเรา
               แอท เอราวัณ                    เกี่ยวกับเชื้อมาลาเรีย และวัณโรค   ในอนาคตจะสามารถช่วยคนได้

                  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มาริสา  โดยเป็นการศึกษากลไกทาง      เพราะหากปราศจากเป้าหมาย ก็
               พลพวกได้รับทุนในสาขาวิทยา  ภูมิคุ้มกันระดับเซลล์ ซึ่งเป็นกระ  เหมือนกับว่าไม่มีแรงบันดาลใจที่จะ
               ศาสตร์ชีวภาพ  จากผลงานวิจัย บวนการจับกินเชื้อ เพื่อย่อยท�าลาย  มุมานะบากบั่น และอดทนในการท�า
               หัวข้อ “การศึกษากระบวนการออ เชื้อที่ซ่อนอยู่ภายในเซลล์  (Au-  วิจัยที่ต้องใช้เวลาค่อนข้างนาน
               โตฟาจีซึ่งเป็นกลไกทางภูมิคุ้มกัน tophagy)                     อยากจะเห็นสังคมให้ความส�าคัญ
               ระดับเซลล์เพื่อค้นหาเป้าหมายของ  เป้าหมายที่คาดหวังในอนาคต    กับงานวิจัย การพัฒนาโดยการใช้
               ยาตัวใหม่ที่สามารถใช้ในการฆ่า  คือ  การพัฒนายาชนิดใหม่จาก     งานวิจัยเข้าไปมีส่วนร่วมให้มากขึ้น
               เชื้อมาลาเรียและวัณโรค” เป็นการ  กลไกใหม่นี้ เพื่อช่วยในการรักษา  และให้ตระหนักว่าวิทยาศาสตร์ช่วย
               ศึกษาหาสารสกัดจากธรรมชาติที่ออก  โรคในผู้ป่วย ลดระยะเวลาการรักษา  ท�าให้เกิดการพัฒนาและสามารถที่
               ฤทธิ์คุ้มกันระดับเซลล์         และลดความทรมานจากผลข้าง        จะช่วยเปลี่ยนแปลงโลกใบนี้ให้ดีขึ้น
                                                                             ได้”
                  “ปัญหาของโรคมาลาเรียกับโรค เคียงของยา และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
               วัณโรคในบ้านเรา อาจจะมองว่าเป็น ในอนาคตการแพร่ระบาดของโรค       ในปีนี้ นอกจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์
               เรื่องไกลตัวส�าหรับคนกรุงเทพฯ แต่ ทั้งสองชนิดนี้จะต้องลดน้อยลง   ดร.มาริสา พลพวก ซึ่งเป็นนักวิจัยสตรี
                                              และหมดไปในที่สุด               จากมหาวิทยาลัยมหิดลได้รับทุนใน

     8
         Volumn 10 • October 2017
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13