Page 10 - MU_10Oct60
P. 10

{ Research Excellence
                   ฐิติรัตน์ เดชพรหม



                          รำงวัลมหำวิทยำลัยมหิดล สำขำกำรวิจัย


                                               ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๙


                  รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขา  จากมาลาเรียเกินกว่า ๔ แสนรายต่อปี  “การผลิตก๊าซสังเคราะห์จากไอน�้า
               การวิจัย เป็นรางวัลที่มหาวิทยาลัย  ทั่วโลก ในเมืองไทยมีผู้ติดชื้อมาลาเรีย  และคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยเซลล์
               มหิดลมอบให้แก่บุคลากรของมหา    ประมาณ ๒๔,๐๐๐ รายต่อปี ยาอาร์  อิเล็กโตรไลซิสแบบออกไซด์ของ
               วิทยาลัยมหิดล ผู้ที่มีความคิดริเริ่มใน  ทิมิซินินเป็นยาขนานหลักที่ใช้ในการ  แข็ง”
               การวิจัย เพื่อสนองความต้องการแก้  รักษามาลาเรีย แต่ปรากฏว่าในปี ค.ศ.
               ปัญหาพัฒนาหรือสร้างองค์ความรู้  ๒๐๐๗ มีรายงานเป็นครั้งแรกพบภาวะ
               ใหม่ๆ ให้แก่สังคม โดยเป็นผลงานที่มี  การดื้อยาอาร์ทิมิซินินเกิดขึ้นที่บริเวณ
               คุณภาพเป็นที่ยอมรับและได้รับการตี  เมืองไพลิน ประเทศกัมพูชา ภายหลัง
               พิมพ์เผยแพร่และอ้างอิงในวารสาร  จากนั้นเป็นต้นมาก็มีรายงานของการ
               วิชาการระดับชาติและนานาชาติ โดย  ดื้อยาเกิดขึ้นในหลายบริเวณแถบนี้
               ผู้ได้รับรางวัลมหาวิทยาลัยมหิดลได้  รวมถึงจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัด
               เข้ารับพระราชทานรางวัล จากสมเด็จ  ศรีสะเกษของไทย ลามไปถึงเมืองจ�าปา
               พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช  ศักดิ์ของลาว ในงานวิจัยครั้งนี้จึงมี
               กุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร  โจทย์วิจัยว่า ภาวะการดื้อยาที่เกิดขึ้นใน  “เหตุผลในการวิจัย สืบเนื่องมาจาก
               ของมหาวิทยาลัยมหิดล ประจ�าปีการ  หลายบริเวณเหล่านี้เกิดจากสายพันธุ์ที่  ปัญหาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
               ศึกษา ๒๕๕๙ ในวันที่ ๑๒ กันยายน   เกิดจากเผ่าพันธุ์เดียวกันหรือไม่ ทาง  ที่เกิดจากการใช้พลังงาน ประเทศไทย
               ๒๕๖๐ ที่ผ่านมา ณ มหิดลสิทธาคาร   คณะเวชศาสตร์เขตร้อน และผู้วิจัยได้  เราพึ่งพาพลังงานจากปิโตรเลียมและ
               มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา        ใช้เทคนิคทางชีวโมเลกุล ตอบค�าถาม  ปิโตรเคมีเป็นหลัก ส่งผลให้เกิดการ
                                                                             ปลดปล่อยก๊าซ CO  ในปริมาณมาก
                                                                                            2
                  ส�าหรับปีนี้ มีผู้ได้รับรางวัลมหา   ของโจทย์วิจัยครั้งนี้ พบว่าเชื้อที่เกิดการ  และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งส่ง
               วิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย จ�านวน   ดื้อยาในบริเวณลุ่มน�้าโขง เป็นเชื้อที่มา  ผลเชิงลบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
               ๒ ท่าน ดังนี้                  จากสายพันธุ์ที่มีเผ่าพันธุ์เดียวกัน กล่าว  บนโลก งานวิจัยนี้มุ่งที่จะแก้ไขปัญหา
                                              คือ เชื้อเริ่มต้นดื้อยาจากเมืองไพลิน
                              รองศาสตราจารย์   ประเทศกัมพูชา แล้วแพร่กระจายไปยัง  สิ่งแวดล้อมไปพร้อมกับการเพิ่มความ
                           ดร.มัลลิกา อิ่มวงศ์   ที่จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดศรีสะเกษ   มั่นคงทางด้านพลังงานของประเทศ
                           ภาควิชาชีวโมเลกุล  และลามไปถึงเมืองจ�าปาศักดิ์ของลาว   หลักการคือการเปลี่ยน CO  ร่วมกับไอ
                                                                                                 2
                           และพันธุศาสตร์โรค  นอกจากการดื้อยาอาร์ทิมิซินินที่เราเจอ  น�้าให้ไปเป็นก๊าซสังเคราะห์ ซึ่งเป็นสาร
                           เขตร้อน  คณะเวช    แล้ว ยังพบภาวะการดื้อยาเสริมที่ชื่อ     ที่มีมูลค่าสูงขึ้น สามารถใช้เป็นพลังงาน
                           ศาสตร์เขตร้อน มหา   ยาไพเพอราควินเป็นครั้งแรกในบริเวณ  และยังสามารถน�าไปใช้เป็นสารตั้งต้น
               วิทยาลัยมหิดล ผลงานวิจัย เรื่อง “การ  นี้  ผลงานครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงภัย  ในการผลิตสารเคมีส�าคัญใน
               แพร่กระจายของเชื้อมาลาเรียชนิด  คุกคามของการก�าจัดมาลาเรียใน  อุตสาหกรรมได้อีกหลายประเภท งาน
               ต้านยาอาร์ทิมิซินิน: การสังเกตด้าน  บริเวณลุ่มน�้าโขง โดยถือเป็นข้อมูลที่  วิจัยนี้ใช้เทคโนโลยีแบบเซลล์อิเล็กโทร
               ระบาดวิทยาชีวโมเลกุล”          ส�าคัญที่จะน�าไปใช้ก�าหนดนโยบาย    ไลซิสแบบออกไซด์ของแข็ง ซึ่งจัดเป็น
                                              ของการใช้ยาและการควบคุมมาลาเรีย  เซลล์เคมีไฟฟ้าชนิดหนึ่ง  ท�าให้เรา
                                                                             สามารถที่จะควบคุมผลิตภัณฑ์ได้ด้วย
                                              ในบริเวณเหล่านี้  ซึ่งทางกระทรวง  การควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้าเป็น
                                              สาธารณสุขวางยุทธศาสตร์ในการ    หลัก ทั้งนี้เราพัฒนาเซลล์ให้มีความ
                                              ก�าจัดมาลาเรียให้หมดไปจาก      สามารถและมีอายุการใช้งานที่ดี
                                              ประเทศไทยภายในอีก ๙  ปีนี้”
                                                                             ขึ้น  เพื่อลดต้นทุนในการผลิตก๊าซ
                                                            ผู้ช่วยศาสตราจารย์   สังเคราะห์ต่อหน่วยลง และเพิ่มขีด
                                                          ดร.ภัทรพร  คิม ภาค  ความสามารถในการแข่งขันทาง
                                                          วิชาวิศวกรรมเคมี   เทคโนโลยี ประโยชน์ที่ได้รับจากงาน
                                                          คณะวิศวกรรมศาสตร์   วิจัยนี้คือ การลดปัญหาสิ่งแวดล้อม
                  “ผู้ป่วยที่ติดเชื้อมาลาเรียทั่วโลก มี   มหาวิทยาลัยมหิดล   จากการปลดปล่อย CO ซึ่งเป็นปัญหา
               ประมาณ ๒ ล้านรายต่อปี มีผู้เสียชีวิต       ผลงานการวิจัย เรื่อง   หลักของอุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อน
                                                                                               2
   10
         Volumn 10 • October 2017
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15