Page 10 - MU_3Mar60
P. 10

{ Research Excellence
         ข้อมูลจากส�านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
         เรียบเรียงโดย ฐิติรัตน์ เดชพรหม

                                           ศ.ดร.โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์



                                           คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

                                           นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจ�าปี ๒๕๕๙

                                           สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์


                                             รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ เริ่มก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ.๒๕๒๘ โดยส�านักงานคณะกรรมการวิจัย
                                           แห่งชาติ (วช.) เป็นรางวัลที่มอบให้นักวิจัย ผู้อุทิศตนท�าการวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลาย
                                           เรื่องในกลุ่มวิชาการหรือสหวิทยาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานวิจัยดีเด่นที่แสดงถึงความคิดริเริ่ม
                                           มีผลงานวิจัยสร้างคุณูปการและเกิดประโยชน์ในเชิงวิชาการ เชิงเศรษฐกิจ เชิงชุมชน สังคม และ
                                           เชิงนโยบายอย่างต่อเนื่อง เป็นผลงานวิจัยที่ท�าสะสมกันมาไม่น้อยกว่า ๕ ปี ทั้งเป็นผู้ที่มีจริยธรรม
                                           ของนักวิจัย เป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการนั้นๆ สมควรเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยอื่นได้

            ส�าหรับในปี ๒๕๕๙ ศ.ดร. ต้องลดราคาลง รัฐบาลสามารถ
          โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์ คณะ ประหยัดงบประมาณลดลงเป็น
          แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  อย่างมาก ศ.ดร.โกวิท ยังให้ความ
          มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผู้ได้รับ ส�าคัญกับการควบคุมและประกัน
          รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ  คุณภาพของการตรวจวัดปริมาณ

          สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผล CD4 ทีลิมโฟไซต์ในผู้ป่วยโรค     pathway ใน NK เซลล์ ซึ่งคณะผู้ ของหลอดเลือดได้อีกด้วย
          งานของท่านโดยสังเขปมีดังนี้  ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ด้วยเครื่อง วิจัยได้ท�าการศึกษาการปรากฏ สารประกอบต่าง ๆ ที่ส�าคัญในฝุ่น

            ศ.ดร.โกวิท พัฒนาปัญญา   โฟลไซโตมิเตอร์ โดยการพัฒนา  ของโมเลกุล Siglecs บนเซลล์ เซลล์ เช่น โปรตีนที่เกี่ยวข้องกับ
          สัตย์ เป็นนักวิจัยที่ได้อุทิศตน  stabilized whole blood ให้เป็น เม็ดเลือดในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี  การเกิดอนุมูลอิระก็พบว่ามีมาก
          ด�าเนินการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อ  ผลส�าเร็จ และจดสิทธิบัตรใน ผลการศึกษาพบว่า โมโนซัยต์ ซึ่งท�าให้อธิบายการเกิดพยาธิ
          วิทยาศาสตร์การแพทย์จนเป็นที่  ประเทศ น�ามาใช้เป็นตัวอย่าง เป็นกลุ่มเซลล์ที่มีการปรากฏของ  สภาพการอุดตันของหลอดเลือด
          ประจักษ์และได้รับการยอมรับ  เลือดในโครงการประเมินคุณภาพ Siglecs มากที่สุด โดยโมโนซัยต์ ในผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี ด้วยพื้น
          และยกย่องทั้งในระดับชาติและ  ภายนอก (External Quality         มี Siglecs-5 และ 9 โดยการ ฐานความรู้ดังกล่าว ศ.ดร.โกวิท
          นานาชาติ โดยผลงานการน�า   Assurance: EQA) ตั้งแต่ปี พ.ศ.  ปรากฏของโมเลกุล Siglecs นี้ และคณะ ได้ศึกษาวิจัยต่อยอด
          เทคโนโลยีโฟลไซโตเมทรี่ในการ  ๒๕๔๕  โดยในปัจจุบันมี          อาจสามารถอธิบายถึงความ ผลของฝุ่นเซลล์ที่มีการการติดเชื้อ
          วิจัยได้สร้างคุณูปการต่อวง  สมาชิกกว่า ๒๘๐ แห่ง ทั้งจาก ทนทานต่อโรคที่แตกต่างกันในผู้ มาลาเรียของเม็ดเลือดแดงและ
          วิชาการ  ประเทศชาติและ    ประเทศไทย ประเทศในภูมิภาค ป่วย ซึ่งอาจใช้เป็นหนทางน�าไปสู่ การเกิดโรคมาลาเรียขึ้นสมอง
          ประชาชน ซึ่งงานวิจัยได้ก่อให้เกิด  เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง  การพยากรณ์การด�าเนินการของ โดยศึกษาวิเคราะห์อัตราการติด
          องค์ความรู้ใหม่ทางด้านการ  ประเทศภูฏาน ศรีลังกา เนปาล  โรคติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ใน เชื้อมาลาเรียของเม็ดเลือดแดง
          แพทย์ โดยเฉพาะการพัฒนาวิธี  และอินเดีย               อนาคต                      รวมทั้งผลที่มีต่อเซลล์หลอดเลือด
          การตรวจวัดปริมาณ  CD4  ที    นอกจากงานด้าน  CD4  ที    นอกจากงานวิจัยโรคติดเชื้อ  ในหลอดทดลอง ด้วยการน�าฝุ่น
          ลิมโฟไซต์ในผู้ป่วยโรคเอชไอวี/ ลิมโฟไซต์ ในผู้ป่วยโรคเอชไอวี/ เอชไอวี/เอดส์แล้ว ศ.ดร.โกวิท   เซลล์ที่ปั่นแยกได้จากสารน�้าเลี้ยง
          เอดส์ให้มีราคาถูกลง เพื่อลดค่า เอดส์ แล้ว ศ.ดร.โกวิท และคณะ  และคณะ ยังศึกษาและพัฒนา  เชื้อมาลาเรีย ทั้งสายพันธุ์ที่ก่อโรค
          ใช้จ่ายของประเทศ และได้รับการ ยังศึกษาวิจัยเซลล์ในระบบ           งานวิจัย เรื่อง โรคธาลัสซีเมีย และ  และไม่ก่อโรค รวมทั้งสารประกอบ
          จดสิทธิบัตรจ�านวน ๒ เรื่อง ได้แก่  innate immunity เช่น natural  โรคมาลาเรีย ท�าให้เกิดความรู้  ต่างๆ ที่สกัดมาจากฝุ่นเซลล์มา
          ๑. จดสิทธิบัตรในหัวข้อ “กรรมวิธี killer (NK) cells มีบทบาทส�าคัญ ความเข้าใจในกลไกการเกิดการ  ทดสอบความรู้จากการวิจัยดัง
          การหาร้อยละเม็ดเลือดขาวลิมโฟ ในการก�าหนดการด�าเนินการของ อุดตันของเส้นเลือด ว่านอกจาก  กล่าว จะท�าให้เข้าใจกลไกการติด
          ไซต์ชนิดต่างๆ”และ ๒. จดสิทธิ โรค โมเลกุล sialic acid-binding  เกิดจากเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ผิด  เชื้อและการเกิดพยาธิสภาพของ
          บัตรในหัวข้อ “กรรมวิธีการหา immunoglobulin-like lectins  ปกติของผู้ป่วยแล้ว micropati-  หลอดเลือดสมองในผู้ป่วย
          ค่าสัมบูรณ์เม็ดเลือดขาวลิมโฟ (Siglecs) ซึ่งปรากฏบนผิวของ  cles หรือฝุ่นเซลล์ที่หลุดลอกจาก  มาลาเรียได้เป็นอย่างดี และก่อ
          ไซต์ชนิดต่างๆ” ซึ่งประโยชน์ที่ได้ NK เซลล์สามารถท�าหน้าที่เป็น  เซลล์เม็ดเลือดแดง และเกล็ด  ให้เกิดประโยชน์ต่อวงการแพทย์
          จากการมีสิทธิบัตรดังกล่าวท�าให้ inhibitory receptors โดยการ เลือดของผู้ป่วย ก็เป็นปัจจัยที่  ในทางวิชาการ สังคมและประเทศ
          ราคาสินค้าของบริษัทที่น�าเข้า ยับยั้งการท�างานของ signaling  ส�าคัญที่ก่อให้เกิดการอุดตัน       ชาติต่อไปในอนาคต  mahidol
   10
         Volumn 03 • March 2017
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15