Page 5 - MU_3Mar60
P. 5

Special Scoop }
                                                                                                ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นันทิยา ดวงภุมเมศ
       ๑๗ ปี แห่งการเฉลิมฉลอง “วันภาษาแม่สากล”
                                                                                                     นายจิรวรรษ อรรฆยเวที

                                ของทุกกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย





















         สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย  Education” โดย Kyungah Kristy Bang จาก  ภาษาแม่หรือภาษาท้องถิ่นมาเป็นระยะเวลา
       มหาวิทยาลัยมหิดล จัดงานเฉลิมฉลองวัน  องค์กรยูเนสโก และ ดร.รังสรรค์ วิบูลย์  กว่าทศวรรษ อีกทั้งยังเป็นผู้ริเริ่มและขับ
       ภาษาแม่สากล ปีที่ ๑๗  ภายใต้หัวข้อ “ระบบ  อุปถัมภ์ จากองค์กรยูนิเซฟ มีสาระหลักที่ชี้ให้  เคลื่อนการจัดการศึกษาแบบทวิ-พหุภาษา
       เขียนภาษาแม่: ฐานรากของความส�าเร็จ  เห็นถึงความส�าคัญของภาษาแม่ในการ   ศึกษา ซึ่งสร้างความส�าเร็จในการพัฒนา
       รางวัล และอนาคตที่ยั่งยืน” ขึ้น เมื่อวันที่  พัฒนาการศึกษาของชุมชน ซึ่งสอดรับกับเป้า  ภาษาแม่หรือภาษาท้องถิ่นตั้งแต่ระดับชุมชน
       ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุม     หมายในด้านการสนับสนุนการพัฒนาการ   ประเทศจนถึงระดับโลกอีกด้วย
       อเนกประสงค์ ชั้น ๒ สถาบันวิจัยภาษาและ  ศึกษาของประชากรโลกของ UNESCO        “วันภาษาแม่สากล” หรือ International
       วัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล โดยได้  นอกจากนี้ ยังได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์  Mother Languages Day เกิดจากองค์กร
       รับการสนับสนุนจากมูลนิธิเพื่อการฟื้นฟู  เกียรติคุณ ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน์ ผู้ริเริ่มและ  ยูเนสโกได้ตระหนักถึงความส�าคัญของสิทธิ
       ภาษาและภูมิปัญญาท้องถิ่น ส�านักงาน  ขับเคลื่อนงานวิจัยและการจัดการศึกษาโดย  โอกาสในการใช้ภาษาของมวลมนุษยชาติใน
       กองทุนสนับสนุนงานวิจัย  กรมส่งเสริม  ภาษาแม่ของประเทศไทยมาตลอดระยะเวลา  ทุกๆ ด้าน จึงก�าหนดให้วันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์
       วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม UNESCO  กว่า ๑๕ ปี (๒๕๔๕ - ๒๕๖๐) จนท�าให้     ของทุกปีเป็นวันภาษาแม่สากล ตั้งแต่ปี พ.ศ.
       UNICEF และ SIL International ที่มีเป้า  สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมแห่งเอเชีย   ๒๕๔๓ เป็นต้นมา เพื่อเฉลิมฉลองความ
       หมายเพื่อแสดงถึงพลังและความส�าคัญของ  ได้รับรางวัลแห่งภาษาแม่และวัฒนธรรมท้อง  ส�าคัญของภาษาแม่ในกลุ่มชนต่างๆ ทั่วโลก
       ภาษาแม่ในการพัฒนาศักยภาพชุมชน  ถิ่น:  จากชุมชนสู่สากล  มาเป็นผู้กล่าว  และเพื่อให้องค์กรและหน่วยงานในแต่ละ
       ประเทศ และนานาชาติ ผ่านรางวัลแห่งความ  ปาฐกถาวาระพิเศษ เรื่อง “ระบบเขียนภาษา  ประเทศได้ตระหนักถึงความส�าคัญของภาษา
       ส�าเร็จต่างๆ อันเกิดจากงานวิจัยภาษาแม่  แม่: ฐานรากของความส�าเร็จ รางวัล และ  ต่างๆ ในประเทศของตน โดยเฉพาะภาษาแม่
       หรือภาษาท้องถิ่น                    อนาคตที่ยั่งยืน” อีกด้วย           ของกลุ่มชนเผ่าหรือกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ที่มี
         ศูนย์ศึกษาและฟื้นฟูภาษา-วัฒนธรรมใน  นอกจากนี้ ยังมีการน�าเสนองานผ่าน  ความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรม
       ภาวะวิกฤต สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม  นิทรรศการ “ห้วงเวลาประวัติศาสตร์แห่ง  การจัดงานเฉลิมฉลองวันภาษาแม่สากล
       เอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล จัดงานวันภาษา  ความส�าเร็จในการท�างานภาษาแม่” การจัด  ในครั้งนี้ จึงถือเป็นอีกก้าวหนึ่งที่เต็มไปด้วย
       แม่สากล ประจ�าปี ๒๕๖๐ เนื่องในโอกาสครบ  เวทีถอดบทเรียนและประสบการณ์ความ  ความส�าเร็จและความมุ่งมั่นของนักวิจัย ใน
       รอบ ๑๗ ปี แห่งการเฉลิมฉลอง “วันภาษาแม่  ส�าเร็จในการท�างานวิจัยจากชุมชนเจ้าของ  การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความส�าคัญ
       สากล” ภายใต้หัวข้อ “ระบบเขียนภาษาแม่:  ภาษา และการน�าเสนอแนวทางการท�าวิจัย   ของภาษาแม่ในด้านงานวิจัยและงาน
       ฐานรากของความส�าเร็จ รางวัล และอนาคต  รวมถึงน�าเสนอทิศทางการท�างานการก้าวไป  วิชาการ และยังเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิด
       ที่ยั่งยืน” โดยได้รับเกียรติจากศาสตราจารย์  สู่ความส�าเร็จในด้านอื่นๆ โดยมีภาษาแม่และ  เห็นส�าหรับการวางแผนก�าหนดทิศทางการ
       นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รองอธิการบดี  วัฒนธรรมท้องถิ่นเป็นพื้นฐาน ทั้งนี้ ในการจัด  ท�างานเพื่อฟื้นฟูภาษาและภูมิปัญญาท้องถิ่น
       มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นประธานเปิดการ  งานวันภาษาแม่สากลในทุกปี ศูนย์ศึกษา  ในอนาคต รวมทั้งขยายเครือข่ายระหว่าง
       ประชุม  รองศาสตราจารย์  ดร.ขวัญจิต            และฟื้นฟูภาษา-วัฒนธรรมในภาวะวิกฤต   กลุ่มนักวิจัยในระดับหน่วยงาน นอกจากนี้ยัง
       ศศิวงศาโรจน์ ผู้อ�านวยการสถาบันฯ กล่าว  สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย ได้รับ  เป็นเวทีส�าหรับเผยแพร่ศิลปะการแสดงของ
       รายงานวัตถุประสงค์ของการจัดงานในครั้งนี้   ความไว้วางใจจากองค์กรและหน่วยงาน  กลุ่มชาติพันธุ์ที่จัดขึ้นโดยกลุ่มนักวิจัย ผ่าน
       และดร.มิรินด้า บูรรุ่งโรจน์ ประธานศูนย์  ต่างๆ ให้เป็นผู้จัดงานมาอย่างต่อเนื่อง   การแสดงชุด “กลุ่มชาติพันธุ์เขมรถิ่นไทย”
       ศึกษาและฟื้นฟูภาษา-วัฒนธรรมในภาวะ   เนื่องจากผลงานเชิงประจักษ์ของศูนย์ฯ ใน  และ “กลุ่มชาติพันธุ์ปลัง” อีกด้วย  mahidol
       วิกฤต  กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมงาน ส�าหรับการ  การวิจัยด้านภาษาแม่หรือภาษาท้องถิ่นแบบ
       ปาฐกถาเปิดงานในหัวข้อ “Towards Sus-  มีส่วนร่วมกับชุมชน ที่ผ่านกระบวนการศึกษา
       tainable Future through Multilingual  รวบรวม ฟื้นฟู ยกระดับ และส่งเสริมผู้ใช้                              5
                                                                                            ปีที่ ๔๒ • มหิดลสาร ๒๕๖๐
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10