Page 20 - MU_7July60
P. 20

{ Special Scoop
                       อิษยา อึ๊งภาดร สถาบันโภชนาการ ม.มหิดล
               เมนูฟิวชั่น                              ด้วยผักผลไม้ ๑๐๐ กรัม







                                ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)








































                  การศึกษาวิจัยขององค์การอนามัย หญิงร้อยละ ๒๗.๖) สาเหตุหนึ่งที่ท�าให้ จ�ากัด สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัย
                โลกพบว่าการบริโภคผักและผลไม้เพิ่ม คนไทยบริโภคไม่เพียงพออาจมาจาก มหิดล จึงร่วมกับภาคีเครือข่าย เพิ่ม
                ขึ้น ๑ หน่วยบริโภค (๘๐ กรัม) ต่อวัน  ความหลากหลายหรือทางเลือกของ ทางเลือกเมนูอาหารจานผักผลไม้ให้
                สามารถลดความเสี่ยงของการเกิดโรค เมนูผักผลไม้ในชีวิตประจ�าวันค่อนข้าง หลากหลายและน่าสนใจมากขึ้นด้วย
                หัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือด จ�ากัด                          การจัดประกวด “รังสรรค์เมนูฟิวชั่น
                สมองได้ร้อยละ ๑๐ และ ๖ ตามล�าดับ   ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิพรรณ   ด้วยผักผลไม้ ๑๐๐ กรัม” เพื่อรณรงค์
                และลดความเสี่ยงของการเป็นมะเร็ง  บุตรยี่ อาจารย์ประจ�าสถาบันโภชนา   ให้คนไทยบริโภคผักและผลไม้ให้
                บางชนิด (กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร   การ มหาวิทยาลัยมหิดลและประธาน  มากขึ้น กิจกรรมครั้งนี้เป็นโจทย์ที่มี
                ปอด และล�าไส้ใหญ่) ร้อยละ ๑ – ๖ ซึ่ง  โครงการรังสรรค์เมนูฟิวชั่นด้วยผักผล  ความท้าทายส�าหรับผู้เข้าแข่งขัน
                แสดงให้เห็นว่า การเพิ่มปริมาณการ  ไม้ ๑๐๐ กรัม กล่าวว่า “ผักและผลไม้  เพราะนอกจากจากจะผ่านเกณฑ์ที่
                บริโภคผักและผลไม้สามารถลดอุบัติ  เป็นแหล่งของสารอาหารต่างๆ  ทั้ง  ก�าหนดว่าต้องมีผักและผลไม้อย่าง
                การณ์ของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้  วิตามิน แร่ธาตุ ใยอาหาร สารพฤกษ  น้อย ๑๐๐ กรัม ปริมาณโซเดียมไม่เกิน
                หลายชนิด ขณะที่สถาบันวิจัยระบบ  เคมี และสารต้านอนุมูลอิสระต่างๆ  ที่  ๑,๐๐๐ มิลลิกรัม และเมนูหลักต้องมี
                สาธารณสุขได้ท�าการส�ารวจสุขภาพ  ร่างกายต้องการ การบริโภคผักและผล  โปรตีนไม่น้อยกว่า ๑๕ กรัม อีกด้วย
                ประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย   ไม้เป็นประจ�าจึงเป็นผลดีต่อสุขภาพ”   เมนูที่รังสรรค์ขึ้นมาทั้งอาหารจานหลัก
                ครั้งที่ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ พบว่า ประชากร  และจากข้อมูลต่างๆ ชี้ให้เห็นว่าคนไทย  อาหารว่าง และเครื่องดื่มมีรสชาติอร่อย
                ไทยอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป บริโภคผักผลไม้  บริโภคผักและผลไม้ต�่ากว่าเกณฑ์ที่  สามารถหาวัตถุดิบได้ง่าย ปรุงประกอบ
                ต่อวันต�่ากว่าปริมาณที่แนะน�าให้  องค์การอนามัยโลกแนะน�า ซึ่งสาเหตุ  ไม่ยุ่งยาก และมีความสวยงามน่ารับ
                บริโภค สัดส่วนของประชากรที่บริโภค  หนึ่งที่ท�าให้คนไทยบริโภคไม่เพียงพอ  ประทาน ทั้งนี้มีผู้เข้าร่วมประกวดทั้งสิ้น
                ผักและผลไม้เพียงพอตามข้อแนะน�า  มี  อาจมาจากความหลากหลายของเมนู  ๑๕ ทีม และคณะกรรมการคัดเลือก
                เพียงร้อยละ ๒๕.๙ (ชายร้อยละ ๒๔.๑   ผักผลไม้ในชีวิตประจ�าวัน ค่อนข้าง  จ�านวน ๑๐ ทีม เพื่อจัดท�าอาหารโชว์



   20
         Volumn 07 • July 2017
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25