Page 19 - MU_7July60
P. 19
Special Scoop }
ผศ.ดร.นันทิยา ดวงภุมเมศ และนักศึกษาปริญญาโท (รหัส ๕๙)
หลักสูตรภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
สร้างมาตรฐานการบริการระดับสากล
ด้วยสมรรถนะการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการ ท�างานจะต้องค�านึงเสมอว่าก�าลังท�า
บริการเป็นทั้งแหล่งรายได้และปัจจัยใน หน้าที่ให้บริการที่เปรียบเสมือนตัวแทน “...การเรียนรู้ ปรับตัว และเสริมสร้าง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ส�าคัญของ ของประเทศ ดังนั้น จะต้องมีความ ทักษะการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
ประเทศไทยในปัจจุบัน โดยผลการ ซื่อสัตย์ต่องานที่ท�า ยอมรับข้อผิด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและ
รายงานตามติดเศรษฐกิจไทยของ พลาดของตนเอง และต้องสามารถ ก้าวข้ามอุปสรรคที่เกิดจากความ
ธนาคารโลกเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี ต่างทางภาษาและวัฒนธรรมจึง
๒๕๕๙ ชี้ว่าประเทศไทยมีการจ้างงาน นอกจากนี้ การท�าความเข้าใจเกี่ยวกับ กลายเป็นกลไกที่ส�าคัญ...”
ในภาคบริการสูงถึง ๑๗ ล้านต�าแหน่ง ผู้ใช้บริการชาวต่างชาติก็เป็นสิ่งที่ผู้ให้ ผู้ร่วมงานและลูกค้าชาวต่างชาติอยู่
หรือร้อยละ ๔๐ ของก�าลังแรงงานไทย บริการพึงตระหนักและพึงระวัง เป็นประจ�า ได้แก่ นายวีระพันธ์ หลัก
และยังสร้างมูลค่าถึงร้อยละ ๕๐ ของ เนื่องจากแต่ละชาติก็มีวัฒนธรรมที่ ค�า หัวหน้าแผนกบริการลูกค้า โรงแรม
GDP เมื่อเทียบกับภาคการผลิตที่มี แตกต่างกันออกไป ผู้ให้บริการจึงต้อง เลอบัว แอท สเตททาวเวอร์ นายพัล
สัดส่วนการจ้างงานเพียงร้อยละ ๑๕ มีการปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมของ พงศ์ สุวรรณวาทิน ผู้จัดการเที่ยวบิน
และสร้างมูลค่าร้อยละ ๓๕ ของ GDP คนในแต่ละชาติเพื่อให้การท�างาน และครูฝึกพนักงานต้อนรับบนเครื่อง
การเติบโตของธุรกิจในภาคบริการและ บริการออกมาดีที่สุด จึงอาจกล่าวได้ว่า บิน บริษัท การบินไทย จากัด (มหาชน)
การท่องเที่ยวนี้ส่งผลให้ผู้ที่ประกอบ การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมที่ดีจะ และนายแพทย์ณัฐวุฒิ วะน�้าค้าง
อาชีพในธุรกิจภาคบริการต้องท�างาน ต้องเกิดจากการเรียนรู้ ท�าความเข้าใจ จักษุแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรม
ท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒน ยอมรับและมีทัศนคติที่ดีต่อผู้มาใช้ จักษุตกแต่งและเสริมสร้าง โรง
ธรรมที่มีพลวัตสูงขึ้นด้วยเช่นกัน ส่งผล บริการที่มีความแตกต่างกันในแต่ละ พยาบาลบ�ารุงราษฎร์ อินเตอร์
ให้การเรียนรู้ ปรับตัว และเสริมสร้าง วัฒนธรรม เนชั่นแนล
ทักษะการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม ข้อมูลข้างต้นเป็นสาระส�าคัญที่ แนวโน้มความต้องการผู้ท�างานใน
เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและก้าว ประมวลมาจากการเสวนาวิชาการ ภาคบริการที่มีความสามารถด้านการ
ข้ามอุปสรรคที่เกิดจากความต่างทาง หัวข้อ “เสน่ห์ธุรกิจบริการ สื่อสาร สื่อสารระหว่างวัฒนธรรมที่เพิ่มขึ้นได้
ภาษาและวัฒนธรรมจึงกลายเป็นกลไก ระหว่างวัฒนธรรม” ที่จัดโดยหลักสูตร น�าไปสู่การพัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตร
ที่ส�าคัญอย่างยิ่งต่อการยกระดับ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา มหาบัณฑิต สาขาภาษาและการ
มาตรฐานและเสริมสร้างความเข้มแข็ง ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสาร สื่อสารระหว่างวัฒนธรรมของสถาบัน
ให้กับธุรกิจในภาคบริการของไทย และการพัฒนา สถาบันวิจัยภาษา วิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย ที่มุ่ง
ผู้ประกอบอาชีพในธุรกิจภาคบริการ และวัฒนธรรมเอเชีย เมื่อเร็วๆ นี้ เน้นสร้างบัณฑิตที่มีความรู้และ
ไม่เพียงแต่จะต้องมีจิตบริการหรือ ซึ่งมีวิทยากรร่วมเสวนาเป็นผู้มี สมรรถนะการสื่อสารระหว่าง
service mind แต่จะต้องมีทักษะการ ประสบการณ์ท�างานกว่า ๑๐ ปี ใน วัฒนธรรมที่สามารถท�างานได้ภายใต้
สื่อสารระหว่างวัฒนธรรมที่ดีด้วย เพื่อ องค์กรด้านการโรงแรม การบิน และ บริบทความแตกต่างความหลากหลาย
ท�าให้ผู้ใช้บริการเกิดความประทับใจ การแพทย์ที่มีมาตรฐานการให้บริการ ทางวัฒนธรรมในองค์กรทุกประเภท ไม่
และกลับมาใช้บริการซ�้าอีกทั้งในการ ระดับสากลและมีการท�างานร่วมกับ เฉพาะแต่ภาคบริการเท่านั้น mahidol
19
ปีที่ ๔๒ • มหิดลสาร ๒๕๖๐