Page 11 - MU_7July60
P. 11

อนาคตที่ท้าทายของอุดมศึกษาไทย


                                      การจัดตั้งกระทรวงอุดมศึกษา
                                      แข่งขันกันที่ สัดส่วนการมีงานท�าของผู้ส�าเร็จการศึกษา
                                      เปิดเสรีให้สถาบันอุดมศึกษาจากต่างประเทศ เข้ามาเปิดการเรียน
                                           การสอนในประเทศไทย
                                      เกิดหลักสูตรใหม่ๆ ที่ตรงกับความต้องการของคนรุ่นใหม่มากขึ้น
                                      หลักสูตรที่ยั่งยืน คือ Life Long Learning
                                      ต�าแหน่งวิชาการมีความหลากหลาย ไม่ใช่วิจัยอย่างเดียว อาจมา
                                          จากการสอน การบริการวิชาการ

                       แนวทางการปรับตัวของสถาบันอุดมศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑

                            รองศาสตราจารย์นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม ท่านยังได้แนะน�าแนวทางในการปรับตัวของ
                                         สถาบันอุดมศึกษาไทยในอนาคตไว้ ๖ ประเด็น ดังนี้






                                 • มีหลักสูตรที่ตอบโจทย์สังคมยุคใหม่  ต้อง  • วิจัยที่น�าไปสู่การประยุกต์ใช้ได้  งานวิจัย
                                 เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและบริบทสังคมของ  ที่สถาบันอุดมศึกษาผลิตได้ต้องน�าไปสู่
                                 คนรุ่นใหม่ ซึ่งมีเป้าหมายและวิถีชีวิตแตก  การใช้ประโยชน์ได้จริง โดยการน�าไปจด
                                 ต่างไปจากคนรุ่นเดิม เพราะคนรุ่นใหม่จะ  ทะเบียน เพื่อเป็นทรัพย์สินทางปัญญา ท�า
                                 ไม่อิงกับปริญญา เน้นการท�างานและสร้าง  ไปใช้ทั้งในเชิงพาณิชย์  และการท�า
                                 รายได้ หลักสูตรจึงต้องมีการปรับตัวให้มี  ประโยชน์ให้แก่สังคม และชุมชน
                                 ลักษณะที่สามารถน�าความรู้ไปประยุกต์
                                 มากขึ้น เพื่อประกอบอาชีพได้จริง





                  • ท�างานกับชุมชน บูรณาการ และยึด  “Good University            • พัฒนาหลักสูตรที่เสริมสร้างทักษะของคนใน
                  ผู้รับบริการเป็นตัวตั้ง การท�างานวิชาการ                      ยุคปัจจุบันและอนาคต ควรมีหลักสูตรที่หลาก
                  ของสถาบันอุดมศึกษา  ควรยึดผู้รับ                              หลายเพื่อตอบสนองความต้องการของคนยุค
                  บริการเป็นหลัก คือ ผู้รับประโยชน์ อาทิ   Teach”               ใหม่ ได้แก่ การปลูกฝัง Business Mind การรู้
                  ภาคประชาชน หรือกลุ่มเป้าหมาย และ                              เท่าทันโลก ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี IT การ
                  ควรท�างานเพื่อชุมชน โดยการบูรณาการ  “Great University         วิเคราะห์ข่าวใน social media หลักสูตร
                  ศาสตร์รอบด้าน มาช่วยแก้ไขปัญหาและ                             Startup ส�าหรับนักศึกษาในทุกๆ สาขาวิชา
                  พัฒนาชุมชนให้เกิดความยั่งยืน      Transform”                  หลักสูตรการรู้เท่าทันsocial media การจัดการ
                                                                                วัฒนธรรม และการใช้ภาษาทางธุรกิจ






                                  • ภาคี 3 ฝ่าย: รัฐ สถาบันอุดมศึกษา   •  Innovation  ในทุกๆ  ด้าน  สร้าง
                                  และเอกชน  สถาบันอุดมศึกษา ควร  นวัตกรรมให้เกิดขึ้นในทุกพันธกิจ เพื่อ
                                  สร้างเครือข่ายการท�างานร่วมกันกับ  การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
                                  ภาครัฐ และภาคเอกชน เพื่อให้การ
                                  พัฒนาสังคมและมนุษย์บรรลุเป้า
                                  หมาย







                     ข้อคิดเกี่ยวกับ “การสร้างคน” คือ อย่าให้คนไทยเก่งเหมือนศรีธนญชัย แต่อยากให้เก่งเหมือนอิคคิวซัง
                   หมายความว่า อย่าสร้างคนเก่งที่ใช้ความฉลาดเพื่อตนเองเท่านั้น แต่ต้องสร้างคนเก่งที่ใช้ปัญญาเพื่อท�าประโยชน์
                   แก่เพื่อนมนุษย์และสังคม   mahidol


                                                                                                                  11
                                                                                            ปีที่ ๔๒ • มหิดลสาร ๒๕๖๐
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16