Page 10 - MU_7July60
P. 10

{ Special Article
             สรุปความโดย อ.ดร.ธีรพงษ์ บุญรักษา รองผู้อ�านวยการฝ่ายยุทธศาสตร์และทรัพยากรบุคคล
             กีรติกาญจน์  เจตน์ธนานันท์ หัวหน้างานยุทธศาสตร์ พัฒนาคุณภาพ และทรัพยากรบุคคล
               ทิศทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของไทย



                                เน้นสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์



                  รองศาสตราจารย์ นายแพทย์        กลไกขับเคลื่อนประเทศชุดใหม่   ๒) สร้างความมั่งคั่งผ่าน Com-
               สรนิต  ศิลธรรม  ปลัดกระทรวง ภายใต้ Thailand 4.0               petitive Growth Engine: หลุดพ้น
               วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอดีต  ประเทศไทยจึงจ�าเป็นต้องปรับ  จาก “กับดักรายได้ปานกลาง” ได้แก่
               รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ให้  เปลี่ยนกลไกการขับเคลื่อนการเติบโต  การยกระดับขีดความสามารถด้านการ
               เกียรติบรรยายเรื่อง  “ทิศทางการ  ชุดใหม่ (New Growth Engines) เพื่อ  วิจัยและพัฒนา สร้างคลัสเตอร์ทาง
               ศึกษาในระดับอุดมศึกษาของไทย    เปลี่ยนผ่านประเทศไทยไปสู่ “ประเทศ  ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม บ่มเพาะ
               เน้นสายสังคมศาสตร์และ          ในโลกที่ ๑” ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๕   ผู้ประกอบการด้านเทคโนโลยี ออกแบบ
               มนุษยศาสตร์” ณ ห้องประชุม ๕๑๕   ประกอบด้วย ๓ ประเด็นหลัก ดังนี้   และความคิดสร้างสรรค์ บริหารจัดการ
               ชั้น ๕ อาคารภาษาและวัฒนธรรม                                   สมัยใหม่ที่พร้อมด�าเนินการทั้งใน plat-
               สยามบรมราชกุมารี สถาบันวิจัยภาษา  ๑) สร้างความมั่นคงผ่าน Inclu-  form ในโลกจริงและโลกดิจิทัล  กิจการ
               และวัฒนธรรมเอเชีย สรุปประเด็น  sive Growth Engine: หลุดพ้นจาก   ร่วมทุนรัฐและเอกชนในโครงการขนาด
               ส�าคัญได้ดังนี้                “กับดักความเหลื่อมล�้า” ได้แก่ การ  ใหญ่ ฯลฯ
                                              ยกระดับ Digital Skill Literacy, ICT
                  ทิศทางการเปลี่ยนแปลงในวิถี  Literacy, Information Literacy และ   ๓) สร้างความยั่งยืนผ่าน Green
               ชีวิตของผู้คน                  Media Literacy พัฒนา Innovation   Growth Engine: หลุดพ้นจาก “กับ
                  ด้วยกระแส Globalization Digitiza- Hubs ให้กระจายในระดับภูมิภาค   ดักความไม่สมดุล” ได้แก่ การมุ่งเน้น
               tion Urbanization Individualization  สร้างเศรษฐกิจระดับฐานรากในชุมชน   ธุรกิจ การผลิต และใช้เทคโนโลยีที่เป็น
               และ Commonization: Global Com- วิสาหกิจเพื่อสังคม และ SMEs ให้  มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ใช้พลังงานทดแทน
               mons ท�าให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลง สามารถแข่งขันในเวทีโลก ยกระดับขีด  พัฒนาเมืองอัจฉริยะ และเมืองที่น่าอยู่
               ทางวัฒนธรรมใน  ๔  มิติ  ได้แก่  ความสามารถ ทักษะ และศักยภาพ   ค�านึงถึงการลดความสูญเสียที่เกิดขึ้น
               วัฒนธรรมการด�ารงอยู่ วัฒนธรรมการ ของประชาชนให้ทันกับพลวัตจาก  ทั้งระบบ ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเป็น
               ด�าเนินธุรกิจ วัฒนธรรมการท�างาน และ ภายนอก สร้างเครือข่ายความร่วมมือ  องค์กรที่ “คิดดีท�าดี” ฯลฯ   mahidol
               วัฒนธรรมการเรียนรู้            ในรูปแบบประชารัฐ ฯลฯ



































                                                                      ส�านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๖๐


   10
         Volumn 07 • July 2017
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15