Page 13 - MU_7July60
P. 13
Special Article }
ผศ.ดร.มนสิการ กาญจนะจิตรา
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
“การตัดสินใจด้านการเจริญพันธุ์ ของคนเจนวาย”
คนเจนวายเชื่อว่าการเลี้ยงลูกใน
ปัจจุบัน มีปัจจัยมากมายที่อยู่นอกเหนือ
การควบคุม ท�าให้คนเจนวายหลายคนไม่
คิดอยากมีลูก นโยบายส่งเสริมการเกิด จึง
ควรมุ่งเน้นการจัดการโครงสร้างสังคมให้
เอื้อต่อการเลี้ยงลูก เพื่อสร้างความเชื่อมั่น
ให้คนรุ่นใหม่ว่าการสร้างครอบครัวที่มี
ผศ.ดร.มนสิการ กาญจนะจิตรา
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม คุณภาพไม่ใช่เรื่องที่ยากเกินความสามารถ
มหาวิทยาลัยมหิดล
การ “เกิดน้อย อายุยืน” เป็น ที่เป็นอุปสรรคในการเลี้ยงลูกให้มี ผู้ชายจ�าเป็นต้องท�างานนอกบ้าน
ปรากฏการณ์ที่หลายประเทศทั่วโลก คุณภาพ คนเจนวายในการศึกษาครั้ง มากขึ้น เจนวายหลายคนจึงไม่เชื่อ
ก�าลังเผชิญอยู่ การที่ประชากรมีบุตร นี้มองว่าสังคมปัจจุบันมีการแข่งขันสูง ว่าจะสามารถท�างานและสร้าง
น้อยลง และคนมีอายุคาดเฉลี่ยยืนยาว ท�าให้คนเป็นพ่อแม่ต้อง “ทุ่มเงิน” กับ ครอบครัวที่มีคุณภาพพร้อมๆ กัน
ขึ้น ท�าให้ประเทศมีสัดส่วนประชากรสูง ลูกคนหนึ่งมากเพื่อให้สามารถมีโอกาส ได้ ประกอบกับระบบการศึกษา และ
อายุเพิ่มขึ้น ในขณะที่สัดส่วนประชากร แข่งขันกับผู้อื่น ในขณะเดียวกัน คนเจน สวัสดิการต่างๆ มีส่วนท�าให้คนเจนวาย
วัยเด็กและวัยแรงงานจะลดลงอย่างต่อ วายมองว่าสังคมปัจจุบันมีภัยอันตราย เชื่อว่าการมีบุตร (และการเลี้ยงบุตรให้
เนื่อง การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง มาก ท�าให้คนเป็นพ่อแม่ต้อง “ทุ่มเวลา” มีคุณภาพ) เป็นสิ่งที่ยากเกินการ
อายุประชากรนี้ อาจส่งผลต่อการ เพื่อดูแลลูกอย่างใกล้ชิด ควบคุม นโยบายที่ส่งเสริมสมดุลของ
พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างหลีก คนเจนวายที่ให้ความส�าคัญกับ ชีวิตและการท�างานอาจเป็นแนวทางที่
เหลี่ยงไม่ได้ ด้วยเหตุนี้ หลายประเทศ Work-life balance จึงมองเห็นความ สามารถจูงใจให้ประชากรเจเนอเรชัน
จึงเริ่มตระหนักเห็นถึงความส�าคัญใน ขัดแย้งระหว่างชีวิตการท�างานและชีวิต วายมีบุตรอย่างได้ผล โดยการสร้าง
การก�าหนดนโยบายและมาตรการ ครอบครัวหากตัดสินใจมีบุตร โดย โครงสร้างสังคมที่เอื้อต่อการท�างาน
ต่างๆ เพื่อส่งเสริมการเกิดที่มีคุณภาพ เฉพาะผู้หญิงที่มีภาระทั้งเรื่องการงาน และการสร้างครอบครัวไปพร้อมๆ กัน
เพื่อสร้างประชากรที่จะมาเป็นก�าลัง และการดูแลคนรอบข้างอยู่แล้ว ดังเช่น ตัวอย่างนโยบายดังกล่าว ได้แก่ การส่ง
ส�าคัญในการขับเคลื่อนประเทศใน ผู้เข้าร่วมสนทนาเพศหญิงคนหนึ่ง ที่ เสริมสิทธิในการท�างานแบบยืดหยุ่น
อนาคต แต่งงานแล้วแต่ยังไม่มีบุตร ที่มองว่า การเพิ่มสิทธิในการลาเพื่อเลี้ยงบุตรทั้ง
การก�าหนดแนวทางนโยบายให้ตอบ อุปสรรคหลักคือเรื่องการจัดสรรเวลา ส�าหรับผู้หญิงและผู้ชาย การพัฒนา
สนองกับสภาพปัญหาในการส่งเสริม “เราก�าลังคิดว่าเวลาไม่พอมาก ศูนย์ดูแลเด็กเล็กให้มีคุณภาพ การ
การเกิดที่มีคุณภาพอย่างได้ผลนั้น เลย...เพราะว่าวันท�างานตื่นแต่เช้าไป สนับสนุนภาคเอกชนให้สร้างความ
จ�าเป็นต้องเข้าใจความคิดของคนรุ่น ท�างานกลับบ้านมานอนก็หมดแล้ว ท�า สมดุลของชีวิตให้กับพนักงาน เป็นต้น
ใหม่เกี่ยวกับการมีบุตร งานวิจัยเรื่อง อะไรไม่ได้เลย เสาร์อาทิตย์ไหนจะ การเลือกนโยบายที่เหมาะสม จะ
สามารถส่งผลต่อความเชื่อต่อการมี
“การตัดสินใจด้านการเจริญพันธุ์ ท�างานบ้านเรา ไหนจะแบ่งไปเยี่ยมพ่อ บุตร ซึ่งจะส่งผลต่อเจตนาการมีบุตร
ของคนเจนวาย” มีวัตถุประสงค์เพื่อ แม่ก็หมดแล้ว”
สร้างความเข้าใจในกระบวนการตัดสิน และการตัดสินใจมีบุตรในประชากร
mahidol
ใจมีบุตรของคนเจเนอเรชันวาย โดยใช้ ในเมื่อปัจจุบันทั้งผู้หญิงและ เจเนอเรชันวายต่อไป
กรอบแนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมตาม
แบบแผน (Theory of Planned Behav-
ior) ที่เชื่อมโยงความเชื่อสามประการ
ได้แก่ ความเชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรม
ความเชื่อเกี่ยวกับคนรอบข้างและ
ความเชื่อเกี่ยวกับความสามารถในการ
ควบคุม กับเจตนาในการมีบุตร
การศึกษาครั้งนี้พบว่าคนเจนวายที่
ไม่อยากมีบุตรเชื่อว่ามีปัจจัยที่อยู่
นอกเหนือการควบคุมของตนมาก
13
ปีที่ ๔๒ • มหิดลสาร ๒๕๖๐