Page 13 - MU_1Jan60
P. 13

{ Information อิษยา อึ๊งภาดร
             สถาบันโภชนาการ ม.มหิดล


         ไขปริศนาความต่าง



             ข้าวกล้อง ข้าวสี





                                    และข้าวขาว







                                                                                                ภาพจาก www.kasetorganic.com


            ข้าวเป็นสายใยแห่งชีวิต มีความผูกพัน  เกือบยี่สิบปีผ่านไปหลังจากพระราช   ข้าวที่เราเห็นวางขายตามท้องตลาด
          กับวิถีชีวิตของชาวไทยมากกว่า ๕,๕๐๐ ปี  ด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร   นอกจากจะแตกต่างกันที่สายพันธุ์แล้ว
          จากการค้นพบหลักฐานรอยพิมพ์ข้าว      มหาภูมิพลอดุลยเดช  คนไทยก็ยังไม่นิยม  กระบวนการขัดสียังเป็นปัจจัยส�าคัญที่
          เปลือกที่โนนนกทา อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น  รับประทานข้าวกล้อง ซึ่งเป็นข้าวที่ผ่าน  ท�าให้ข้าวแตกต่างกัน ลองสังเกตดูจะพบ
          และยังมีการค้นพบแกลบเผาที่ผสมอยู่ใน  กระบวนการขัดสีเพื่อเอาเปลือกออกเพียง  ว่าข้าวที่วางขายนั้น มีทั้งข้าวสี และข้าวที่
          ดินที่น�ามาท�าเป็นภาชนะดินเผาที่บ้าน  รอบเดียว ท�าให้ข้าวกล้องยังคงมีจมูกข้าว   ถูกขัดสีจนขาว ซึ่งข้าวที่ผ่านกระบวนการ
          เชียง  จ.อุดรธานี  ซึ่งหลักฐานทาง   และเยื่อหุ้มเมล็ดอยู่จึงอุดมไปด้วยสาร  ขัดสีหลายครั้งจนขาวมีผลงานวิจัยรายงาน
          ประวัติศาสตร์เหล่านี้ชี้ให้เห็นว่าข้าวเป็น  อาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย นอกจาก  ว่าเมล็ดข้าวจะสูญเสียคุณค่าทาง
          อาหารที่หล่อเลี้ยงชีวิตคนไทยมาอย่างช้า  ข้าวกล้องแล้วคนไทยยังมีข้าวพันธุ์ไทย ซึ่ง  โภชนาการไปประมาณ ๕๐ – ๘๐% เพราะ
          นาน                                 มีสีสันและประโยชน์มากมายให้เลือกรับ  สารอาหารส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณผิวของ
            พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา         ประทาน                             เมล็ดข้าว ท�าให้ข้าวสูญเสียวิตามินไป
          ภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี   ข้าวพันธุ์ไทยที่ไม่ขัดสีนั้นเป็นอีกหนึ่งตัว  เกือบหมด โดยเฉพาะธาตุเหล็ก ซึ่งจะพบ
          จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถ  เลือกที่น่าสนใจ เพราะเป็นแหล่งอาหารชั้น  บริเวณผิวของเมล็ดข้าวเท่านั้น จึงเหลือ
          บพิตร ให้ความสนพระราชหฤทัยเรื่องข้าว  เยี่ยมที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ซึ่งมี  เฉพาะสารอาหารจ�าพวกโปรตีน
          เป็นพิเศษ พระราชวังของพระองค์เป็นที่  หลากหลายสายพันธุ์ เช่น ข้าวพื้นเมือง   คาร์โบไฮเดรต และไขมัน เท่านั้น แต่ก็เหลือ
          ประทับแห่งเดียวในโลกที่มีแปลงนาข้าว  ข้าวสีนิล ข้าวสังข์หยด รวมถึงข้าวไรซ์เบอรี่  ในปริมาณที่น้อยมาก
          ทดลอง พระองค์ทรงทุ่มเทพระวรกาย      ที่ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์ ซึ่งการที่คน
          บ�าเพ็ญพระราชกรณียกิจด้านการพัฒนา   ไทยส่วนใหญ่มองข้ามการรับประทานข้าว
          ข้าวไทย ท�าให้คนไทยมีข้าวหลากหลาย   สี รู้หรือไม่ว่าก�าลังพลาดแหล่งอาหารชั้น
          สายพันธุ์ นอกจากนี้พระองค์ยังเล็งเห็น  ยอดที่อุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการ
          ปัญหาการบริโภคข้าวของคนไทย            ความต่างของข้าวสี และข้าวขาว
          เนื่องจากคนไทยนิยมบริโภคข้าวที่ถูกขัดสี
          จนขาว แทนที่จะบริโภคข้าวกล้อง ซึ่งเป็น  ปัจจุบันข้าวที่ปลูกอยู่ทั่วโลกมีประมาณ
          ของดี ดังพระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จ  ๑๒๐,๐๐๐ สายพันธุ์ โดยสามารถแบ่งออก  รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนี คงคาฉุยฉาย
          พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อปี   เป็น ๒ กลุ่มหลักๆ คือ ข้าวเอเชีย (Oryza    ผู้อ�านวยการสถาบันโภชนาการ
          พ.ศ. ๒๕๔๑ ความว่า                   Savita) มีถิ่นก�าเนิดอยู่บริเวณประเทศ  มหาวิทยาลัยมหิดล ให้สัมภาษณ์ว่า “โดย
                                              อินเดีย บังคลาเทศ และเอเชียตะวันออก  ทั่วไปข้าวสี และข้าวขาวให้สารอาหาร
            “ข้าวที่ออกเป็นสีลักษณะนี้เป็นข้าวที่มี  เฉียงใต้ และข้าวแอฟริกา (Oryza glaber-
          ประโยชน์ อย่างข้าวกล้องคนไทยส่วนใหญ่  rina) ที่แพร่กระจายอยู่บริเวณเขตร้อนของ  ประเภท โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต
                                                                                 เหมือนกัน แต่ในข้าวขัดสีน้อย เช่น ข้าว
          ไม่ค่อยกินกันเพราะเห็นว่าเป็นข้าวของ  แอฟริกาเท่านั้น ซึ่งข้าวสายพันธุ์ต่างๆ ที่  กล้อง และข้าวที่มีสีต่างๆ จะพบสารพฤกษ
          คนจน ข้าวกล้องมีประโยชน์ท�าให้ร่างกาย  ปลูกอยู่ในประเทศไทยจัดอยู่ในกลุ่มของ  เคมี ซึ่งเป็นสารประกอบออกฤทธิ์ทาง
          แข็งแรง ข้าวขาวเม็ดสวยแต่เขาเอาของดี  ข้าวเอเชียทั้งหมด                ชีวภาพ (Bioactive compounds) ที่ไม่ใช่
          ออกไปหมดแล้ว...”
   12
         Volumn 01 • January 2017
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18