Page 7 - MU_9Sep62
P. 7
Special Scoop
สุพรรณรัช ภูริวัฒนกุล
ดร.โชค บูลกุล ร่วมสร้างแรงบันดาลใจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
ในเสวนา “Mahidol 17 SDGs Talk” ณ ม.มหิดล ศาลายา
มหาวิทยาลัยมหิดลได้จัดท�าแผน
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเพื่อความ
ยั่งยืน พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒ โดยมีนโยบาย
ส่งเสริมการสร้างความเป็นมหาวิทยาลัย
เชิงนิเวศ (Eco-University) ที่มีเป้าหมาย
ชัดเจนในการสร้างให้เกิดการพัฒนา
อย่างยั่งยืน (Sustainable Development)
ตาม ๑๗ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน มหิดล กล่าวว่า อดีตเลขาธิการสหประชาชาติ ใหม่สับสนกับเป้าหมายของชีวิต เราจะต้อง
ขององค์การสหประชาชาติ (Sustainable บัน คี มูน เคยกล่าวไว้ “เราไม่มีแผนส�ารอง เข้าใจก่อนว่า อะไรคือทักษะของเราจริงๆ
Development Goals-SDGs) เพราะเราไม่มีโลกใบที่สอง” เป็นแนวคิด โดยการท�ามาจากความเข้าใจ ท�ามาจาก
โดยเมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ที่ว่าไม่มีอะไรส�าคัญไปกว่าโลกใบนี้อีก ความรัก ตื่นมาทุกเช้าอะไรที่เราท�าแล้ว
ณ มหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา แล้วนั้น ได้น�าไปสู่การพัฒนาเป้าหมาย เรามีความสุข ไม่ใช่เอาบรรทัดฐานของ
ได้มีการจัดกิจกรรมเสวนา “Mahidol 17 ร่วมกันของโลก (Global Goals) ซึ่งจากเมื่อ คนอื่นมาเป็ นตัวก�าหนด จะท�าให้เรา
SDGs Talk” ซึ่งเป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อ ปี ๒๐๑๕ สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ที่ มองเห็นช่องทางสู่ความส�าเร็จที่ยั่งยืน
สร้างแรงบันดาลใจให้กับนักศึกษา บุคลากร มีตัวแทนจาก ๑๙๓ ประเทศได้ให้การรับรอง ซึ่งเราต้องท�าโดยเข้าใจศักยภาพของเราจริงๆ
ตลอดจนบุคคลภายนอก ได้รับมีความ รายงานส�าคัญ “Transforming our world: the เราจึงได้พยายามจะสร้างโมเดลของเราขึ้นมา
รู้ความเข้าใจเพื่อการพัฒนาสู่เป้าหมาย 2030 Agenda for Sustainable Development” ซึ่งถึงแม้จะไม่ได้เป็นโมเดลที่ใหญ่มาก
17 SDG Goals เป็นครั้งแรก ซึ่งเป็นเอกสารที่ก�าหนดเป้าหมายการพัฒนา แต่ท�าให้ทุกคนต้องจดจ�าฟาร์มโชคชัย”
กิจกรรมในครั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก อย่างยั่งยืน (Sustainable Development “สังคมวันนี้ถูกครอบง�าจากคนเพียง
ดร.โชค บูลกุล กรรมการผู้จัดการกลุ่ม Goals – SDGs) ไว้ ๑๗ เป้าหมายใหญ่ ไม่กี่กลุ่ม พวกเขาพยายามครอบง�าเพื่อ
ตั้งแต่ประเด็น ความยากจน (SDG1) ความ สร้างกลไกบางอย่างเพื่อน�าเราเข้าสู่การ
หิวโหย (SDG2) สุขภาวะ (SDG3) การศึกษา เป็น “สาวก” เพื่อง่ายต่อการ Manipulate
(SDG4) ความเท่าเทียมทางเพศ (SDG5) น�้า ให้เราจงรักภักดีต่อเป้าหมายของเขาไปให้
สะอาด (SDG6) พลังงานหมุนเวียน (SDG7) นานที่สุด กลุ่มที่ ๑ คือ พวก Marketing
การงานและเศรษฐกิจที่เหมาะสม (SDG8) Driven กระตุ้นให้เกิดการใช้จ่ายบริโภคตาม
นวัตกรรมและโครงสร้างพื้นฐาน (SDG9) กระแสที่เกินความจ�าเป็น และ กลุ่มที่ ๒ คือ
การลดความเหลื่อมล�้า (SDG10) ไปจนถึง พวก Technology Driven ที่มาในการสร้าง
บริษัทฟาร์มโชคชัย ผู้น�าพาฟาร์มโชคชัยจาก เมืองและชุมชนที่ยั่งยืน (SDG11) การบริโภค Platform บางอย่าง เช่น Android หรือ iOS
วิกฤตสู่ต้นแบบธุรกิจที่ประสบความส�าเร็จ และการผลิตอย่างรับผิดชอบ (SDG12) การ เพื่อให้เราเข้าไปอยู่ใน Ecosystem เพื่อที่
นอกจากนี้ยังมีตัวแทนทีม 129 Sustainability แก้ปัญหาด้านสภาพภูมิอากาศ (SDG13)
จาก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล การอนุรักษ์ป่าไม้ (SDG14) การคุ้มครอง
ซึ่งได้รับรางวัลชนะเลิศจากงาน “Innovation ท้องทะเล (SDG15) สันติภาพ (SDG16)
for Campus Sustainability 2019” ที่ได้ และความร่วมมือเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สร้างสรรค์ผลงาน “Welunteering” ซึ่งเป็น (SDG17) โดยมีเป้าหมายรองที่เกี่ยวข้อง
แอปพลิเคชันหาอาสาสมัครท�ากิจกรรม อีกทั้งหมด ๑๖๙ หัวข้อนั้น เป้าหมายของ
ภายในมหาวิทยาลัย โดยการประชาสัมพันธ์ เราไม่ใช่สอนให้นักศึกษาท่องจ�าว่า 17 จะได้สังเกตพฤติกรรมของเรา และยัดเยียด
หาจิตอาสาผ่านสมาร์ทโฟน ลดการใช้ SDG Goals คืออะไร แต่เรามุ่งสร้างแรง อนาคตที่พวกเขาจะเป็นผู้ก�าหนดให้กับเรา
ทรัพยากร และพลังงานจากป้ายประกาศ จูงใจให้เริ่มคิด แล้วเอามาปรับใช้กับ อย่างจ�ายอม”
ทั่วไป และช่วยส่งเสริมจิตอาสาในหมู่ พฤติกรรมตัวเอง เพื่อเปลี่ยนสังคมและ “Sustainability คือ การที่สังคมมนุษย์
นักศึกษา และบุคลากรในมหาวิทยาลัย โลกที่เราอยู่ให้ดีขึ้นต่อไป โลก สิ่งแวดล้อม สัตว์ทั้งหลาย ควรจะ
และทีม “Binbin” (Developed by Mang) “ผมไม่ได้มองว่าเรื่อง ๑๗ เป้าหมาย อยู่กันได้อย่างเคารพซึ่งกันและกันไม่
จาก คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน จะท�าให้เกิด เบียดเบียนซึ่งกันและกันเป็นหลักส�าคัญ
สื่อสาร (ICT) มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งคว้า การแข่งขันในการจัดอันดับโดยเอาตัวชี้วัด แต่ปัญหาของโลกในทุกวันนี้ คือการมีช่อง
รางวัลชนะเลิศจากเวที Asian Conference เป็น ๑๖๙ เป้าวัตถุประสงค์ แล้วบอกว่า ว่างที่ท�าให้กลุ่มคนที่ได้เปรียบรวยมากขึ้น
on Campus Sustainability (ACCS) ครั้งที่ มหาวิทยาลัยนั้นเก่งกว่ามหาวิทยาลัยนี้ ในขณะที่กลุ่มคนที่เสียเปรียบมีแต่จนลง
๔ ที่จัดขึ้น ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี แต่เรื่องที่ส�าคัญ คือ เราต้องกลับมามองว่า เราจึงควรต้องรู้เท่าทันกระแสของโลก
จากผลงานการคิดค้นนวัตกรรมเพื่อจัดการ ท�าอย่างไรผู้บริหารมหาวิทยาลัยถึง เพื่อที่จะได้ปรับตัวให้เป็ นทรัพยากร
ขยะอย่างยั่งยืนด้วย “ตู้รับซื้อขยะรีไซเคิล” จะขับเคลื่อนนโยบายที่สามารถใส่ มนุษย์ที่มีคุณค่ากับโลก ไม่ใช่จะมา
(MU Smart Bin) และ “แอปพลิเคชันเพื่อ วัตถุประสงค์เหล่านี้เข้าไปฝังชิปในสมอง เอาเปรียบโลก เพราะตอนนี้โลกอยู่ใน
รับแต้ม” (MU Recycle Application) ของเด็กรุ่นใหม่ให้ได้” รองศาสตราจารย์ สถานการณ์ที่จะอยู่ได้อีกนานเท่าไหร่ก็ไม่รู้”
รองศาสตราจารย์ ดร.กิติกร จามรดุสิต ดร.กิติกร จามรดุสิต กล่าว ดร.โชค บูลกุล กล่าวทิ้งท้าย
รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายสิ่งแวดล้อม ด้าน ดร.โชค บูลกุล กล่าวว่า “ค่านิยมที่ ข่าวโดย ฐิติรัตน์ เดชพรหม
และการพัฒนาอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัย ถูกสร้างจากกลไกของการตลาดท�าให้คนรุ่น ภาพโดย ศรัณย์ จุลวงศ์
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 7