Page 9 - MU_6June62
P. 9

Special Scoop
                                                                                    ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. นายแพทย์สุธี ยกส้าน
                                                                                            ที่ปรึกษาศูนย์วิจัยและพัฒนาวัคซีน


                               ม.มหิดล “จี้” ผู้รับผิดชอบในห่วงโซ่การผลิตน�า

                              นวัตกรรมวัคซีนไข้เลือดออกเด็งกี่สู่อุตสาหกรรม



                  เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เป็นวัน                        สู่อุตสาหกรรมได้ ท่านได้แสดงเจตนารมณ์
               คล้ายวันสถาปนาสถาบันชีววิทยาศาสตร์                            อย่างแน่วแน่ขอให้มีความพยายาม
               โมเลกุล ครบรอบ ๑๐ ปี ศาสตราจารย์                              ในการต่อยอดงานผลิตวัคซีนดังกล่าว
               เกียรติคุณ ดร. นายแพทย์สุธี ยกส้าน                            ในประเทศไทยให้จงได้ เพราะอยากให้
               ที่ปรึกษาศูนย์วิจัยและพัฒนาวัคซีน                              ผลประโยชน์ทางการวิจัยตกอยู่ใน
               ซึ่งเป็นหน่วยงานในสังกัดสถาบันนี้ เปิดเผยว่า                  ประเทศไทย ไม่ใช่ตกอยู่ในประเทศอื่น
               ตลอดระยะเวลา ๓๕ ปี ทีมงานวิจัยได้                               ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้มีการตรา
               ท�าการพัฒนาวัคซีนต้านเชื้อไวรัสที่มียุงเป็น                   พระราชบัญญัติความมั่นคงด้านวัคซีน
               พาหะน�าโรคมาอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มต้น  การประชุม WHO Scientific Peer Review ครั้งที่ ๑๓   แห่งชาติ สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นการเตือน
                                              ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๒๓ - ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๑
               จากงานพัฒนาวัคซีนไข้เลือดออกเด็งกี่ ต่อ  เพื่อพิจารณาข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของวัคซีนไข้เลือดออก  สติทุกๆ  ฝ่ายที่เกี่ยวข้องด้านวัคซีนว่า
               มาได้ขยายไปสู่วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี   เด็งกี่ ชุดที่ ๒ ของมหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพ ศ.คลินิก  ควรพิจารณาเรื่องนี้อย่างละเอียดและ
               วัคซีนไข้ปวดข้อยุงลายชิคุนกุนยา และวัคซีน               เกียรติคุณ นพ.ปิยะสกล  สกลสัตยาทร อดีตอธิการบดี  รอบด้าน เช่น หากเราจ�าต้องซื้อวัคซีนที่ใช้
                                              มหาวิทยาลัยมหิดลกล่าวต้อนรับคณะผู้แทนฯ
               ซิก้า ตามล�าดับ ผลงานนวัตกรรมชนิด                             ในประเทศไทยทุกชนิดนั้น หมายความว่า
               แรกของหน่วยงานคือ นวัตกรรมวัคซีน              ให้รอบด้านจะพบว่าประเทศไทยของเรา  เราจ�าเป็นต้องน�าเข้าซึ่งวัคซีนส�าเร็จรูปจาก
               ไข้เลือดออกเด็งกี่ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ นั้นมีทั้งจุดแข็งและจุดอ่อน โดยเฉพาะ  ต่างประเทศ ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผล
               รวม ๔ ชนิด (Live attenuated tetravalent  ศักยภาพการพัฒนาการผลิตระดับ  ให้เกิดความอ่อนแอด้านเศรษฐกิจการ
               dengue vaccine) จากห้องปฏิบัติการ                               อุตสาหกรรม หากเราแก้ไขจุดอ่อน                     เงินและการอุตสาหกรรมของประเทศ
               สู่การพัฒนาการผลิตระดับอุตสาหกรรม  ดังกล่าวได้ส�าเร็จ จะส่งผลดีต่อสุขภาพ  รวมทั้งอาจจะเป็ นปัจจัยคุกคามต่อ
               นวัตกรรมวัคซีนนี้เกิดจากการใช้เทคโนโลยี ของประชากรชาวไทยและชาวโลก  ความมั่นคงของประเทศได้ ทุกฝ่ายจึง
               ของมหาวิทยาลัยมหิดลเอง มีการสร้างไวรัส  ส�าหรับค�าถามที่ว่า “แล้วไม่คิดจะ  ควรพิจารณาเพิ่มศักยภาพด้านการผลิต
               ขึ้นมาจ�านวนหนึ่ง ผ่านกระบวนการคัดเลือก ผลิตวัคซีนในประเทศไทยหรือ”   วัคซีนโดยเร็ว หากมีอุปสรรคใดๆ เกิดขึ้น
               อย่างเข้มข้นจนพบเชื้อที่มีความเหมาะสม ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. นายแพทย์  ก็ต้องร่วมกันหาหนทางแก้ไขจนกว่าจะ
               ที่สุดเพื่อน�าไปใช้พัฒนาเป็นวัคซีน   สุธี ยกส้าน เล่าให้ฟังว่า เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖   ประสบความส�าเร็จ
                  จากการที่ประเทศไทยยังไม่มีฐาน ก่อนการ Licensing ให้แก่บริษัท PMsv
               การผลิตวัคซีนโดยใช้เซลล์เพาะเลี้ยง                              จากประเทศฝรั่งเศสนั้น หลายฝ่ายเห็น
               ในระดับอุตสาหกรรม  ส่ งผลให้ คล้องจองกันว่าอุตสาหกรรมในประเทศไทย
               มหาวิทยาลัยมหิดลจ�าต้องอนุญาตให้ ยังไม่พร้อมในการผลิตวัคซีนจากระดับ
               ใช้สิทธิในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต ต้นน�้า มหาวิทยาลัยมหิดลจึงหันไปหา
               วัคซีนไข้เลือดออกเด็งกี่ (Licensing) ให้แก่                                                                   พาร์ตเนอร์การผลิตจากต่างประเทศ ส�าหรับ
               บริษัทอุตสาหกรรมวัคซีนในต่าง ใน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งเป็น
               ประเทศรวม ๓ แห่ง  ได้แก่ พ.ศ. ๒๕๓๖  เวลาร่วม ๑๘ - ๒๐ ปีหลังจากการ Licensing                                                             พิธีลงนามการอนุญาตให้ใช้สิทธิในการถ่ายทอดเทคโนโลยี
               มอบให้บริษัท Pasteur Merieux serum et                                                                  ครั้งแรก  มหาวิทยาลัยมหิดลได้หารือ  การผลิตวัคซีนไข้เลือดออกเด็งกี่ ระหว่างบริษัท Kaketsuken
               vaccins (PMsv) ประเทศฝรั่งเศส (ปัจจุบันคือ  กับองค์การอนามัยโลกรวมทั้งกระทรวง  ประเทศญี่ปุ่น กับมหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม
               Sanofi Pasteur) พ.ศ. ๒๕๕๔ มอบให้ สาธารณสุขของประเทศไทย ได้ข้อสรุปว่า   ๒๕๕๔ โดย ศ.คลินิกเกียรติคุณ นพ.ปิยะสกล  สกลสัตยาทร
                                                                             เป็นผู้ลงนามในฐานะผู้แทนของมหาวิทยาลัยมหิดล
               บริษัท Kaketsuken ประเทศญี่ปุ่น (ปัจจุบัน ควรติดต่อประสานงานการพัฒนาระดับ
               คือ Kumamoto Meiji Groups)  และล่าสุด อุตสาหกรรมในประเทศไทย ควรใช้ฐาน  ขณะนี้ถือเป็นโอกาสที่เหมาะสมที่สุด
               เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้มอบให้บริษัท Serum                       การผลิตที่องค์การเภสัชกรรม อย่างไรก็ดี   เพราะมีการจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษา
               Institute ประเทศอินเดีย        เมื่อหน่วยงานอุตสาหกรรมของประเทศ  วิทยาศาสตร์   วิจัยและนวัตกรรม
                  ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. นายแพทย์ เรายังไม่พร้อม จึงส่งผลให้มหาวิทยาลัย              ขึ้นมาหมายความว่าเมื่อบุคลากรของ
               สุธี ยกส้าน เล่าให้ฟังต่อไปว่า องค์การ มหิดลจ�าต้องแสวงหาพาร์ตเนอร์จากต่างประเทศ                                           มหาวิทยาลัยมหิดลสามารถสร้างนวัตกรรม
               อนามัยโลกที่กรุงนิวเดลี ได้ให้การสนับสนุน ได้แก่ บริษัทจากประเทศญี่ปุ่นและอินเดีย  วัคซีนได้  นั่นคือจุดเริ่มต้นของการ
               ทางวิชาการและเงินทุนวิจัยแก่มหาวิทยาลัย โดยไม่มีทางเลือก หากไม่ท�าการขับเคลื่อน  ขับเคลื่อนประเทศไทยให้เป็น Thailand
               มหิดลเป็นเวลานานถึง ๑๒ ปี ในรายงานของ  จะเป็นการเสียโอกาสไป   4.0 แต่พึงส�าเหนียกว่า เพียงการค้นพบ
               Prof. Dr. U. Ko Ko ในฐานะ Emeritus   ใน พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้มีการตราพระ  นวัตกรรม ไม่ได้หมายความว่าเราไปถึง
               Director General ได้ให้ข้อสรุปในรายงาน ราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวัคซีนแห่งชาติ    เป้าหมายแล้ว ยังมีงานที่ต้องท�าอีก
               ประจ�าปีก่อนที่ท่านจะพ้นวาระ มีใจความว่า                                                                        รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขใน   คือการเตรียมความพร้อมโรงงานผลิต
               งานวิจัยและพัฒนาวัคซีนไข้เลือด ขณะนั้นคือ นายแพทย์ประดิษฐ สินธวณรงค์   วัคซีนระดับอุตสาหกรรมในประเทศไทย
               ออกเด็งกี่ของประเทศไทยนั้น มีความ ได้รับรายงานจากสถาบันวัคซีนแห่งชาติ  ซึ่งเป็นห่วงโซ่เชื่อมโยงกันไป ความส�าเร็จ
               ก้าวหน้าอย่างมาก ท่านมีความเห็น ว่ามหาวิทยาลัยมหิดลประสบความส�าเร็จ  จะเกิดขึ้นเมื่อเรามีการร่วมกันท�างาน
               ว่าการวิจัยเพื่อค้นหานวัตกรรมวัคซีน ในการพัฒนาวัคซีนไข้เลือดออกเด็งกี่                 อย่างจริงจังมีการหารือกันอย่างรวดเร็ว
               ของไทยนั้นล�้าหน้าอินเดีย หากพิจารณา จนสามารถน�านวัตกรรมดังกล่าวเชื่อมโยง  และเพียงพอเท่านั้น

                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒       9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14