Page 7 - MU_2Feb62
P. 7
Harmony in Diversity
สุรณีย์ แสนยุติธรรม
ม.มหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมขับเคลื่อนโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP
นวัตวิถีในจังหวัดกาญจนบุรี ให้แก่ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกจ�านวน ๓๒ ชุมชน
อาจารย์ภวินท์ธนา เจริญบุญ อาจารย์ จากเดิมชุมชนส่วนใหญ่มักท�าผลิตภัณท์
ผู้รับผิดชอบกลุ่มวิชาอุตสาหกรรม ตามความเคยชิน และเชี่ยวชาญ ปรับ
บริการและการท่องเที่ยว ในหลักสูตร เปลี่ยนมาให้ตระหนักกับการสร้าง
บริหารธุรกิจบัณฑิต ของสาขาวิชา คุณค่าที่แตกต่าง และไม่ “ผลัก”
พาณิชยศาสตร์และการจัดการ ส�านัก ผลิตภัณฑ์และคนในชุมชนไปภายนอก
วิชาสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยมหิดล แต่จะ “ดึง” เอาคนภายนอกมาซื้อ และ
วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้เปิดเผยว่า มาท่องเที่ยวในชุมชนแทน ซึ่งแนวคิด
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ดังกล่าวจะเป็นจริงได้นั้น คนในชุมชน
เป็นสถาบันการศึกษาที่ให้ความส�าคัญ ต้องค้นหา เข้าใจ และใช้เสน่ห์ ภูมิปัญญา
กับการจัดการศึกษาพร้อมพัฒนาองค์ วิถีชีวิต วัฒนธรรม และความคิด
ความรู้ให้แก่ชุมชนท้องถิ่นและประเทศ สร้างสรรค์ แปลงเป็นรายได้ รวมทั้งสร้าง
ชาติอย่างยั่งยืน ดังนั้น มหาวิทยาลัย คุณค่าให้เกิดขึ้นในสายตาของนักท่องเที่ยว
มหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี จึงได้ร่วมกับ เพื่อให้นักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยว และ
ใช้จ่ายกับผลิตภัณฑ์รวมถึงกิจกรรม
ต่างๆ ในชุมชน ส่งผลให้เกิดการกระจาย
รายได้ และสร้างความเข้มแข็งให้กับ
ชุมชน อีกทั้งเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจ
ฐานรากอย่างแท้จริง ตามนโยบายด้าน
การท่องเที่ยวในประเทศไทยที่ให้ความ
ส�าคัญกับการสร้างการมีส่วนร่วม และ
ส�านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด การกระจายรายได้ ดังเห็นได้จาก จึงขอเชิญชวนให้คนไทยได้มีการท่องเที่ยว
กาญจนบุรี โดยช่วยให้ความรู้เกี่ยวกับ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ เพื่อเรียนรู้วิถีชุมชน ซึ่งนอกจากจะได้
การวางแผนธุรกิจให้กับ ๓๒ ชุมชนที่ได้ ฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ที่ได้ พบกับความสวยงามของทรัพยากร
รับการคัดเลือกให้เป็นชุมชนท่องเที่ยว ก�าหนดยุทธศาสตร์ให้มีการพัฒนา ทางธรรมชาติแล้ว ยังได้พบเสน่ห์
OTOP นวัตวิถีของจังหวัดกาญจนบุรี บุคลากรด้านการท่องเที่ยว และสนับสนุน ของวัฒนธรรม วิถีชีวิตในชุมชนที่
พร้อมทั้งลงพื้นที่ เพื่อค้นหาทรัพยากร การมีส่วนร่วมของประชาชนในการ น่าสนใจ ซึ่งอาจไม่เคยพบเห็นมา
ทางการท่องเที่ยวและจัดท�าเส้นทาง พัฒนาการท่องเที่ยว ซึ่งก�าหนดแนว ก่อนอีกด้วย อันจะเกิดการกระจาย
ท่องเที่ยวให้แก่ ๑๖ ชุมชน ซึ่งโครงการ ทางการพัฒนาโดยการส่งเสริมให้ รายได้ และที่ส�าคัญ คือ ช่วยให้แต่ละ
“ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี” ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหาร ชุมชนเกิดความตระหนักในคุณค่า
มีแนวคิดที่จะเชื่อมโยงภูมิปัญญา วิถีชุมชน จัดการด้านการท่องเที่ยว และได้รับ ของทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน
กับผลิตภัณฑ์ OTOP และพัฒนาช่องทาง ประโยชน์จากการท่องเที่ยว และเชื่อมโยง และส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยว
การตลาดที่หลากหลาย โดยจากเดิมที่ มายังแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ อย่างยั่งยืนต่อไป Mahido
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 7