Page 12 - MU_8Aug61
P. 12

Special Article
           อ.ดร.ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา
           มหาวิทยาลัยมหิดล




















                  หากพิจารณาเหตุการณ์ความไม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หลายลักษณะ เช่น การเยียวยา การ
               สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ ปัตตานี และศูนย์ทรัพยากรสันติภาพ  ปกป้องคุ้มครองสิทธิ การสร้างความไว้
               เกิดขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๗ และด�าเนิน สนับสนุนโดย สหภาพยุโรป ซึ่งการ วางใจระหว่างกลุ่มทางสังคมและ
               ต่อเนื่องมานานกว่าหนึ่งทศวรรษนี้ จะ ประชุมเชิงปฏิบัติการนี้จัดขึ้น ณ คณะ ระหว่างประชาชนและเจ้าหน้าที่รัฐ รวม
               เห็นว่า สถานการณ์นี้ได้ดึงดูดคนหลาก วิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลา ทั้งการเข้ามีบทบาทในการร่วมแสวงหา
               หลายกลุ่มให้เข้ามาร่วมท�างานสันติ  นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี   ทางออกต่อปัญหาความขัดแย้งใน
               ภาพเพื่อช่วยกันหาทางออกจากความ   การน�าเสนอเริ่มด้วยการอภิปรายถึง  ชายแดนใต้ด้วยการเป็นส่วนหนึ่งของ
               ขัดแย้ง ในจ�านวนคนท�างานดังกล่าวทั้ง เหตุผลที่กลุ่มผู้หญิงในชายแดนใต้เข้าสู่  คณะกรรมการอิสระเพื่อความสมาน
               นอกและในพื้นที่ จะเห็นได้ว่าผู้หญิง พื้นที่สาธารณะและต่อมาต้องรวมตัว  ฉันท์แห่งชาติ  (กอส)  ในส่วนของ
               จากหลากหลายอาชีพทั้งในระดับ กันเป็นเครือข่ายผู้หญิงในปี  พ.ศ.   กระบวนการพูดคุย (dialogue pro-
               ปัจเจกชนและกลุ่มได้เข้ามาท�างานเพื่อ ๒๕๕๘ เพื่อท�ากิจกรรมสันติภาพ ทั้งนี้  cess) แม้การพูดคุยเพื่อหาทางยุติ
               ลดความรุนแรงและส่งเสริมการอยู่ร่วม เนื่องจากต้องการสร้างเวทีที่จะท�าให้ผู้  ปัญหาความขัดแย้งในทางลับที่เกิดขึ้น
               กันอย่างสันติอย่างแข็งขัน      หญิงสามารถส่งเสียงเพื่อเรียกร้องให้  ตั้งแต่ปี พ.ศ.  ๒๕๓๖ ผู้หญิงจะไม่มีส่วน
  12              อ.ดร.ดวงหทัย  บูรณเจริญกิจ   เกิดการเปลี่ยนแปลงที่จะสร้างความ  ร่วม แต่ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ก็ได้มี นาง

               อาจารย์ประจ�าสถาบันสิทธิมนุษยชน  ปลอดภัยในชีวิตและความมั่นใจต่อ  จิราพร บุนนาค เป็นหนึ่งในคณะผู้แทน
               และสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ได้  อนาคตของคนในชายแดนใต้ ผู้หญิงเข้า  รัฐบาลไทยไปพูดคุยกับฝ่ายเห็นต่าง
               ศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้หญิงใน  มามีบทบาทในการสร้างสันติภาพใน  จากรัฐในต่างประเทศ
               กระบวนการสันติภาพในประเทศเมียน
               มาและประเทศไทย พบว่าเฉพาะใน
               ส่วนของจังหวัดชายแดนภาคใต้ใน
               ประเทศไทยนั้น นับแต่ตั้งความขัดแย้ง
               เริ่มขึ้นจนถึงปัจจุบัน บทบาทของผู้หญิง
               ค่อยๆ เป็นที่ยอมรับมากขึ้นเป็นล�าดับ
               จากฝ่ายต่างๆ ทั้งจากผู้มีอ�านาจในการ
               ตัดสินใจในกระบวนการสร้างสันติสุข-
               สันติภาพ จนถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน
               ท้องถิ่น โดยเมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม
               ๒๕๖๑ อ.ดร.ดวงหทัยได้น�าเสนอเรื่อง
               “บทบาทผู้หญิงกับขบวนการสันติ
               ภาพในจังหวัดชายแดนใต้” ในที่      การพูดคุยอย่างเป็นทางการการที่ ผู้หญิงเกิดขึ้นหลังจากที่การแก้ปัญหา
               ประชุมเชิงปฏิบัติการ: ผู้หญิงในจังหวัด  เปิดเผยต่อสาธารณะเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ.  ชายแดนใต้ด้วยกระบวนทัศน์ความ
               ชายแดนภาคใต้กับการขับเคลื่อน   ๒๕๕๖ ได้รับความสนใจและสนับสนุน มั่นคงที่ให้ความส�าคัญกับการทหาร
               ติดตามการด�าเนินการตามเป้าหมาย  จากเครือข่ายผู้หญิงในชายแดนใต้และ และการสู้รบด�าเนินมากว่าทศวรรษ
               การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)” จัดโดย   ได้เรียกร้องให้ผู้ใช้อาวุธทุกฝ่ายงดเว้น ท�าให้เห็นว่า การใช้กระบวนทัศนค์ที่
               มูลนิธิผู้หญิง ร่วมกับ เครือข่ายผู้หญิง  การก่อเหตุและคุ้มครองพื้นที่สาธารณะ เน้นการทหารแก้ไขปัญหานั้นไม่เพียง
               ภาคประชาสังคมกับการขับเคลื่อน  ปลอดภัยเป็นวาระในโต๊ะเจรจาเมื่อ  พอที่จะสร้างความมั่นคงในชีวิตและ
               วาระการพัฒนาที่ยั่งยืน  ๒๐๓๐   พ.ศ. ๒๕๕๘ การผลักดันในเรื่องนี้ของ อนาคตต่อประชาชนที่เป็นฝ่ายตั้งรับ





         August 2018                                              M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17