Page 4 - MU_5May61
P. 4

เรื่องจากปก
            งานสื่อสารองค์กร คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
            มหาวิทยาลัยมหิดล





































              ครั้งแรกของโลก คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี ม.มหิดล ค้นพบ


                  วิธีการรักษาโรคธาลัสซีเมียให้หายขาดด้วยวิธีการบ�าบัดยีน

   4
                  เมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ คณะ บ่อยที่สุดในประเทศไทย ต้องรักษา เคยถ่ายเลือดมาตั้งแต่เด็ก  ตอนนี้
               แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี  โดยประคับประคองโดยการให้ สามารถไปเรียน หรือไปท�างานได้อย่าง
               มหาวิทยาลัยมหิดล จัดงานแถลงข่าว  เลือดและยาขับเหล็กตลอดชีวิต  ปกติ
               “รามาธิบดีค้นพบวิธีการรักษาโรค  ปัจจุบันมีผู้ป่วยประมาณ ๒๐๐,๐๐๐   การวิจัยครั้งนี้มีบุคคลผู้เข้าร่วมวิจัย
               ธาลัสซีเมียให้หายขาดด้วยวิธีการ – ๓๐๐,๐๐๐ คน ในประเทศไทย ผู้  ๒ ท่าน  คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาย
               บ�าบัดยีน เป็นครั้งแรกของโลก”  ณ   ป่วยเหล่านี้มีอาการตั้งแต่ ๒ – ๓ ปีแรก  แพทย์อุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์ หน่วย
               ท�าเนียบเอกอัครราชทูต  สถานทูต ที่เป็นโรคซึ่งจะต้องได้รับเลือดทุกเดือน   โลหิตวิทยาและมะเร็งในเด็ก ภาควิชา
               ฝรั่งเศสประจ�าประเทศไทย  โดยมี  การรักษาโรคธาลัสซีเมียมีเพียงทาง  กุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรง
               ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร  เดียวคือการปลูกถ่ายเซลล์ต้นก�าเนิด  พยาบาลรามาธิบดี และ ศาสตราจารย์
               ศรีธรา คณบดีคณะแพทยศาสตร์โรง จากผู้บริจาคที่มีสุขภาพดีและสามารถ  นายแพทย์สุทัศน์ ฟู่เจริญ ศูนย์วิจัย
               พยาบาลรามาธิบดี แถลงข่าวร่วมกับ  เข้ากับผู้ป่วยได้ ซึ่งก็จะได้จากพี่น้อง  ธาลัสซีเมีย สถาบันชีววิทยาศาสตร์
               ฯพณฯ จิลส์ การาชง เอกอัครราชทูต ของผู้ป่วยเองหรือผู้บริจาคจากสภา   โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ร่วมมือ
               ฝรั่งเศสประจ�าประเทศไทย Dr.Philippe  กาชาดไทย มีเพียงร้อยละ ๒๕ เท่านั้น  กับ Dr.Leboulch นักวิจัยจาก Univer-
               Leboulch นักวิจัยจาก University of  ที่สามารถหาผู้บริจาคที่เหมาะสมได้   sity  of  Paris  และทีมแพทย์จาก
               Paris และ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ การใช้เซลล์ต้นก�าเนิดจากพ่อแม่  สหรัฐอเมริกา (Harward Medical
               สุรเดช หงส์อิง หัวหน้าโครงการโรค ของผู้ป่ วยน�ามาทดลองรักษา ซึ่ง  School) ปัจจุบันการรักษาด้วยวิธีนี้มี
               มะเร็งในเด็ก สาขาโลหิตวิทยาและโรค ถือว่าเป็ นเรื่องใหม่ของวงการการ  ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง ในอนาคตหากได้
               มะเร็ง ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะ รักษาโรคธาลัสซีเมีย ความยากคือ  รับการสนับสนุนจากภาครัฐ  คณะ
               แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี  การตัดต่อยีน ซึ่งเราได้ทดลองจน  แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
               ร่วมแถลงข่าวในครั้งนี้         ประสบความส�าเร็จในที่สุด โดยเรา  มหาวิทยาลัยมหิดล จะมีระบบการ

                  ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรเดช    เป็น ๑ ใน ๘ แห่งทั่วโลกที่ท�าการ  รักษารูปแบบนี้อย่างครบวงจร  Mahidol
               หงส์อิง กล่าวว่า ผู้ป่วยที่เป็นธาลัสซี  รักษาในรูปแบบนี้ โดยที่พวกเขาไม่
               เมียเป็ นโรคทางพันธุกรรมที่พบ  ต้องเข้ารับการถ่ายเลือด ทั้งที่ต้อง





         May 2018                                                 M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   1   2   3   4   5   6   7   8   9