Page 20 - MU_5May61
P. 20
กองกฎหมาย
ธนำชัย มำโนช นิติกร กองกฎหมาย
สิทธิได้รับเงินชดเชย
เมื่อพ้นสภำพจำกกำรเป็นพนักงำนมหำวิทยำลัยเพรำะเหตุแห่งกำรตำย (๒)
เราได้ทราบกันจากฉบับที่แล้วว่า
ผู้มีสิทธิได้รับเงินชดเชยจากการเสีย
ชีวิตของพนักงานมหาวิทยาลัย คือ
บุคคลในครอบครัวที่มีสถานะโดยชอบ
ด้วยกฎหมายและได้ยกตัวอย่างให้ดู
กันแล้ว เราจะมาดูว่าบุคคลในครอบ
ครัวที่ไม่มีสถานะโดยชอบด้วยกฎ
หมาย ซึ่งไม่มีสิทธิได้รับเงินชดเชยตาม
ที่ก�าหนดในข้อบังคับ หากพนักงาน
มหาวิทยาลัยประสงค์จะให้บุคคลดัง
กล่าวมีสิทธิได้รับเงินชดเชยจะต้อง รับเงินชดเชยต้องจดทะเบียนสมรสกับ กฎหมายที่พนักงานมหาวิทยาลัยชาย
ด�าเนินการอย่างไร เราไปดูกันครับ มารดาของบุตร จดทะเบียนรับรองบุตร ได้เป็นผู้แจ้งการเกิด ให้ใช้นามสกุล
๑. บิดาไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่มี หรือศาลมีค�าพิพากษาว่าพนักงาน ระบุในทะเบียนบ้านว่าพนักงานมหา
สิทธิได้รับเงินชดเชย บิดาไม่ชอบ มหาวิทยาลัยเป็นบิดา ส่วนบุตรที่เกิด วิทยาลัยเป็นบิดาหรือพนักงานมหา
ด้วยกฎหมายของพนักงานมหาวิทยา จากพนักงานมหาวิทยาลัยหญิงถือเป็น วิทยาลัยอุปการะเลี้ยงดูอย่างบิดากับ
ลัยคือ บิดาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับ บุตรชอบด้วยกฎหมายของพนักงาน บุตรทั่วๆ ไป ถือว่าเป็นบุตรนอกกฎหมาย
มารดาของพนักงานมหาวิทยาลัย การ มหาวิทยาลัยหญิงเสมอ ที่บิดาได้รับรองโดยพฤตินัย กฎหมาย
ที่จะให้บิดาไม่ชอบด้วยกฎหมายมีสิทธิ ๔. ทายาทโดยธรรมที่เป็ นบุตร ให้ถือว่าเป็นผู้สืบสันดานเหมือนบุตรที่
๒
ได้รับเงินชดเชยจะต้องให้บิดาจดทะ บุญธรรม รวมถึงพี่น้องร่วมบิดา ชอบด้วยกฎหมาย หากประสงค์จะให้
20 เบียนสมรสกับมารดา จดทะเบียนรับ มารดาเดียวกัน พี่น้องร่วมบิดาหรือ มีสิทธิได้รับเงินชดเชยพนักงานมหา
พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นบุตรหรือมี ร่วมมารดาเดียวกัน ปู่ ย่า ตา ยาย วิทยาลัยชายจะต้องระบุให้บุตรนอก
ค�าพิพากษาของศาลว่าพนักงานมหา ลุง ป้า น้า อา บุคคลเหล่านี้ไม่มีสิทธิ กฎหมายดังกล่าวมีสิทธิได้รับเงิน
วิทยาลัยเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ได้รับเงินชดเชย หากประสงค์ให้ได้ ชดเชย
ส่วนมารดาของพนักงานมหาวิทยาลัย รับเงินชดเชย พนักงานมหาวิทยาลัย สุดท้ายนี้ เงินที่มหาวิทยาลัยจ่าย
นั้น ย่อมเป็นมารดาที่ชอบด้วยกฎหมาย ต้องระบุไว้ก่อนตายว่าให้เป็ นผู้มี ชดเชยให้แก่ทายาทอันเนื่องมาจากการ
ของพนักงานมหาวิทยาลัยเสมอ ๑ สิทธิได้รับเงินชดเชยตามแบบที่ ตายของพนักงานถือเป็นเงินที่ทายาทมี
๒.สามี-ภริยาไม่ชอบด้วยกฎ มหาวิทยาลัยก�าหนด สิทธิได้รับตามเกณฑ์ที่เหมาะสม อีกทั้ง
หมาย ไม่มีสิทธิได้รับเงินชดเชย ๕.บุคคลที่ถูกจ�ากัดมิให้ได้รับ ทายาทเหล่านั้นยังมีสิทธิได้รับเงินประ
สามี-ภริยาไม่ชอบด้วยกฎหมายของ มรดก อาจไม่ได้รับเงินชดเชย เภทอื่นๆ อีกตามข้อบังคับหรือประกาศ
พนักงานมหาวิทยาลัยคือ บุคคลที่อยู่ เนื่องจากข้อบังคับก�าหนดให้มหา ของมหาวิทยาลัย และหากเลือกได้มหา
กินฉันสามีภรรยากับพนักงานมหา วิทยาลัยใช้ดุลพินิจในการพิจารณา วิทยาลัยคงไม่อยากจ่ายเงินชดเชยอัน
วิทยาลัยโดยไม่จดทะเบียนสมรส ข้อสังเกต บางกรณีการด�าเนินการ เนื่องมาจากการตายและทายาทผู้มี
กฎหมายไม่ถือว่าเป็นสามีภริยาที่ชอบ ทางกฎหมายเพื่อให้บุตรนอกกฎหมาย สิทธิได้รับคงไม่อยากรับเงินชดเชย
ด้วยกฎหมาย บุคคลดังกล่าวไม่มีสิทธิ มีสถานะเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะต้องสูญเสียบุคคลที่ตนรัก และ
ได้รับเงินชดเชย ดังนั้น หากประสงค์จะ ก็เป็นเรื่องยาก เนื่องจากบิดามารดา อาจเป็นเสาหลักของครอบครัว ดังนั้น
ให้ได้รับเงินชดเชยต้องจดทะเบียน เลิกรากัน ไม่ยินยอมมาจดทะเบียน ขอให้ทุกคนตั้งตนอยู่ด้วยความไม่
สมรสกันตามกฎหมาย สมรสหรือไม่ยินยอมรับรองบุตรท�าให้ ประมาทนะครับ Mahidol
๓. บุตรนอกกฎหมายไม่มีสิทธิได้ บุตรนอกกฎหมายไม่มีสิทธิได้รับเงิน ๑ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ๑๕๔๖ เด็กเกิด
รับเงินชดเชย บุตรไม่ชอบด้วย ชดเชย ข้อบังคับดังกล่าวจึงได้ก�าหนด จากหญิงที่มิได้มีการสมรสกับชายให้ถือว่าเป็นบุตรชอบด้วย
กฎหมายของหญิงนั้น เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็น
กฎหมายของพนักงานมหาวิทยาลัยคือ ให้พนักงานมหาวิทยาลัยสามารถระบุ อย่างอื่น
บุตรที่เกิดจากพนักงานมหาวิทยาลัย ให้ทายาทโดยธรรมตามประมวล ๒ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ๑๖๒๗ บุตรนอก
ชายที่ไม่ได้จดทะเบียนสมสรสกับ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มีสิทธิได้รับ กฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วและบุตรบุญธรรมนั้น ให้ถือว่า
เป็นผู้สืบสันดาน เหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ตาม
มารดาบุตร หากประสงค์จะให้บุตรได้ เงินชดเชยได้ ดังนั้น หากบุตรนอก ความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี้
May 2018 M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership