Page 19 - MU_5May61
P. 19
Special Scoop
อิษยำ อึ๊งภำดร
นักวิชาการไทยชี้ ประเทศไทย ปลอดไขมันทรำนส์
สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัย
มหิดล ร่วมกับ ส�านักงานพัฒนาการ
วิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) (สวก.)
สมาคมนิสิตเก่าคณะอุตสาหกรรม
เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(สอก.) และส�านักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข จัด
สัมมนา เรื่อง “ประเทศไทยปลอดไข
มันทรานส์” ณ โรงแรมเอเชีย ราชเทวี
เมื่อเร็วๆ นี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง
ความเข้าใจสถานการณ์การปนเปื้อนไข
มันทรานส์ในอาหารและผลิตภัณฑ์ – ๕.๑๔ กรัมต่อ ๑๐๐ กรัม ๓) พาย เพิ่ม LDL) แต่เมื่อเปรียบเทียบการ
อาหารในประเทศไทย รวมถึงผลกระทบ ๐.๐๓ – ๔.๓๙ กรัมต่อ ๑๐๐ กรัม ๔) บริโภคไขมันทรานส์แทนไขมันทั้ง ๓
ของไขมันทรานส์ต่อสุขภาพ พัฟและเพสตรี ๐.๐๑ – ๒.๔๖ กรัม ชนิด พบว่า การบริโภคไขมันทรานส์
ศาสตราจารย์ ดร.วิสิฐ จะวะสิต ต่อ ๑๐๐ กรัม ๕) เวเฟอร์ช็อกโกแลต แทนไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนจะส่งผลต่อ
อาจารย์ประจ�าสถาบันโภชนาการ และ ๐.๐๖ – ๖.๒๔ กรัมต่อ ๑๐๐ กรัม ระดับการเพิ่ม LDL ในเลือดมากที่สุด
หัวหน้าโครงการวิจัยการส�ารวจสถาน เป็นต้น ซึ่งการบริโภคอาหารที่มีไข นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยพบว่า การ
การณ์การปนเปื้อนของกรดไขมันชนิด มันทรานส์มากเกินไปจะส่งผลเสีย บริโภคไขมันทรานส์แทนคาร์โบไฮเดรต
ทรานส์ในผลิตภัณฑ์อาหารในประเทศ ต่อสุขภาพ เพียงร้อยละ ๒ ของพลังงาน จะมีความ
ไทย สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.วันทนีย์ เสี่ยงสูงถึงร้อยละ ๒๓ ที่จะเกิดโรคหัวใจ
มหิดล กล่าวว่า “ประเทศไทยสามารถ เกรียงสินยศ อาจารย์ประจ�าสถาบัน และหลอดเลือด ด้วยเหตุนี้ การบริโภค
ปลอดไขมันทรานส์ได้ ถ้าภาครัฐมี โภชนาการ ม.มหิดล กล่าวว่า “การ อาหารที่มีไขมันทรานส์จึงควรรับ
การควบคุมการใช้ไขมันทรานส์ที่ บริโภคไขมันทรานส์ที่เกิดจากกระบวน ประทานอย่างเหมาะสม องค์การ 19
เกิดจากกระบวนการผลิตอาหารใน การอุตสาหกรรมจะส่งผลเสียต่อ อาหารและการเกษตรแห่งสหประ
ขั้นตอนอุตสาหกรรม” โดยปกติแหล่ง สุขภาพ โดยเพิ่มความเสี่ยงต่อการ ชาชาติ (Food and Agriculture Orga-
ของไขมันทรานส์มี ๒ ชนิด คือ ไขมัน เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสูงถึง nization of the United Nations: FAO)
ทรานส์จากธรรมชาติ ซึ่งพบได้ในสัตว์ ร้อยละ ๔๒ ในขณะที่ไม่พบความ และองค์การอนามัยโลก (World
สัตว์สี่กระเพาะ เช่น นม เนื้อสัตว์ (โดย เสี่ยงที่ชัดเจนดังกล่าวในการบริโภค Health Organization: WHO) แนะน�า
เฉพาะเนื้อสัตว์ติดมัน) ซึ่งจะพบใน ไขมันทรานส์ที่มาจากธรรมชาติ” มี ให้บริโภคไขมันทรานส์ไม่เกิน ๒.๒
ปริมาณที่น้อยมาก และไขมันทรานส์ได้ รายงานวิจัยพบว่า ให้อาสาสมัคร กรัมต่อวัน หรือ ไม่เกิน ๐.๕ กรัมต่อ
จากกระบวนการเติมไฮโดรเจนบางส่วน บริโภคไขมันทรานส์แทนการบริโภคไข หนึ่งหน่วยบริโภค เพื่อสุขภาพที่ดี
เข้าไปในน�้ามันพืช (Partially Hydroge- มันอิ่มตัวเพียงร้อยละ ๑ ของพลังงาน นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ดร.วิสิฐ
nated Oils: PHOs) จากผลส�ารวจ พบว่า ระดับคอเลสเตอรอลไม่ดี (LDL- จะวะสิต กล่าวทิ้งท้ายว่า “ตอนนี้มีเรำ
ปริมาณไขมันทรานส์ในอาหารและ Cholesterol) สูงขึ้น ในขณะที่ระดับ มีกำรพัฒนำเทคโนโลยีที่จะมำทดแทน
ผลิตภัณฑ์อาหารในประเทศไทย โดย คอเลสเตอรอลดี (HDL-Cholesterol) กำรใช้เทคนิคกำรเติมไฮโดรเจนบำง
การสุ่มตัวอย่าง จ�านวน ๑๖๒ ต�่าลง รวมถึงบริโภคไขมันทรานส์แทน ส่วนในน�้ำมันแล้ว เช่น กำรผสมน�้ำมัน
ตัวอย่าง พบว่า อาหารที่มีการปน การบริโภคไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว และ (Oil-Blending) ซึ่งเป็นวิธีที่ผู้ผลิตนิยม
เปื้อนไขมันทรานส์เป็นอันดับต้นๆ ไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนก็ส่งผลใน ใช้ เนื่องจำกต้นทุนไม่สูงมำกนัก และยิ่ง
ได้แก่ ๑) มาการีน พบว่ามีปริมาณ ลักษณะเดียวกัน (ทั้งที่โดยปกติแล้วการ ไปกว่ำนั้นก็ไม่ได้ห้ำมกำรปนเปื้อนไข
ไขมันทรานส์ ๐.๐๘ – ๑๕.๓๒ กรัม บริโภคไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดียว และไข มันทรำนส์ที่เกิดจำกธรรมชำติใน
ต่อ ๑๐๐ กรัม ๒) โดนัททอด ๐.๐๒ มันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนจะไม่ส่งผลต่อการ อำหำร” Mahidol
มหิดลสาร ๒๕๖๑