Page 17 - MU_1Jan61
P. 17
Special Article
วีระพงศ์ มีสถาน นักปฏิบัติการวิจัย (ผู้ช�านาญการพิเศษ)
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
ปีใหม่
คุณค่าและความหมาย
นับได้ว่าเป็นความชาญฉลาดของ การเริ่มต้นและการสิ้นสุดแห่งปีขึ้น ใน การถือเอาวันที่ ๑ มกราคมเป็นวัน
มนุษย์ที่ก�าหนดเอาปรากฏการณ์ทาง ชั้นต้นก็คือก�าหนดเอาจากวัน โดยถือ ขึ้นปีใหม่ ได้เกิดการรับรู้กันทั่วทุก
ธรรมชาติ เช่น ยามเช้ามีดวงตะวันขึ้น เอาวาระที่ตะวันขึ้นจวบถึงตะวันขึ้นอีก ประเทศกลายเป็นสังคมโลก มีการจัด
ยามเย็นดวงตะวันลับตา จนน�ามาสู่ คราใหม่เป็นหนึ่งวัน งานเฉลิมฉลองนับถอยหลังจากปี
การคิดค�านวณว่า เหตุการณ์ลักษณะนี้ ปีใหม่ก็เปรียบคล้ายกับวันใหม่ แต่ ปัจจุบันเพื่อต้อนรับปีใหม่ มีมหกรรม
เป็นเพราะโลกหมุนรอบตัวเองประการ ระยะเวลาต่างกันนับได้ ๓๖๕ วัน เป็น แสดงความรื่นเริงนานาประการ
หนึ่ง โลกเองก็ลอยเลื่อนเคลื่อนที่หมุน เวลาที่ยาวนานพอที่ก่อปรากฏการณ์ แม้ปีใหม่จะไม่ต่างจากวันเวลาที่ 17
รอบดวงตะวัน นอกจากนี้ยังมีดวงเดือน ทั้งร้อน ฝน หนาว ซึ่งเรียกว่า ฤดู เกิด หมุนเวียนเปลี่ยนไปเฉกเช่นทุกๆ วันคืน
สับเปลี่ยนหมุนเวียนสว่างและมืดรอบ ขึ้นได้ และด้วยบรรยากาศทางตอน แต่การก�าหนดให้มีวาระ
โลกอีกประการหนึ่ง เหนือของอินเดียและเนปาล (ซึ่งเป็นดิน “ปีใหม่” ก็เกิดเป็นหมุดหมายให้แก่
ปรากฏการณ์การลอยเลื่อนเคลื่อนที่ แดนที่ประสูติเจ้าชายสิทธัตถะ หรือ ใครๆ ได้ คือ เป็นจุดก�าหนดว่าจะท�าสิ่ง
ของดวงดาวเหล่านี้ในระบบจักรวาล พระพุทธเจ้าในกาลต่อมา) เมื่อคราวที่ ใดให้ดีกว่าเดิมหรือละเลิกสิ่งใดที่ไม่ดี
มิใช่การลอยเคว้งคว้างอย่างไร้การ โลกเคลื่อนเข้าสู่ราศีเมษตามหลักการ การก�าหนดเวลาของชีวิต คืออายุก็มัก
ควบคุม แต่เป็นไปด้วยการเหนี่ยวหน่วง ค�านวณทางโหราศาสตร์ หรือการย่าง จะอาศัยการก�าหนดหน่วยนับเป็นปี
ของกันและกัน เกิดเป็น “วงโคจร” จน เข้าสู่เดือนเมษายนเป็นวาระที่ผ่อน นอกจากนี้ “ปี ใหม่” ยังเป็นพลังทาง
ทุกวันนี้ การที่ดาวซึ่งมนุษย์อาศัยอยู่ คลายจากความหนาวเหน็บ หิมะบน สัญญะ กล่าวคือ บางคนนับเอาวาระ
และเราเรียกว่า “โลก” หมุนรอบตัวเอง เทือกเขาเริ่มละลาย ดอกไม้ป่าเริ่มผลิ ของการเริ่มปีใหม่ในการท�างาน เก็บ
ก�าหนดเรียกว่า “วัน” ดาวจันทรา ซึ่ง บาน จึงเกิดการก�าหนดเอาวาระแห่ง กวาดบ้านเรือนให้เอี่ยมสะอาด สะสาง
ไทยเรียกว่า “เดือน” หมุนรอบโลกครบ ความเปลี่ยนแปลงอันสดชื่นนี้ว่าเป็น งานที่คั่งค้าง หรือรวมไปถึงการปรับ
รอบ ๓๐ – ๓๑ วัน ก�าหนดเรียกว่า เดือน “ปีใหม่” สยามและดินแดนในย่านนี้ก็ เปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองก็มี
และโลกหมุนรอบดวงตะวันจนบรรจบ รับเอาแนวคิดดังกล่าวที่แทรกอยู่ในทั้ง ปีใหม่ จึงคือจุดเล็กๆ แห่งเวลาที่มีผู้
วงโคจรก�าหนดเรียกว่า “ปี” ก็ล้วนเกิด ศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธมาเรียก ก�าหนดขึ้น แล้วมีคนอื่นๆ ยอมรับนับถือ
จากฐานปรากฏการณ์ทางธรรมชาติดัง ขานว่าเป็นปีใหม่ตามไปด้วย ตาม จนปัจจุบันนี้เราไม่อาจปฏิเสธปี
กล่าว ต่อมาเมื่อแนวคิดทางสังคมตะวัน ใหม่เช่นเดียวกับการที่เราไม่อาจปฏิเสธ
หากขีดเส้นวงกลมอย่างมีสมมาตร ตกเริ่มแพร่หลายมากยิ่งขึ้น สยามได้ การนับ วินาที นาที ชั่วโมง เพราะเป็น
เราจะไม่ทราบว่าจุดใดเป็นจุดเริ่มของ เปลี่ยนนามเป็น ประเทศไทยในปี พ.ศ. สิ่งสามัญที่เป็นหน่วยนับระยะเวลา แต่
เส้นวงกลมนั้น เช่นเดียวกันการหมุน ๒๔๘๒ และในอีก ๒ ปีต่อมา คณะ การที่ปีใหม่จะมีค่าหรือความส�าคัญ
เวียนของดวงดาวต่างๆ ในจักรวาล แม้ รัฐบาลในยุคนั้นจึงได้ก�าหนดวันปีใหม่ หรือไม่ ขึ้นอยู่กับปัจเจกชนแต่ละคนว่า
มนุษย์ไม่คิดค�านวณปรากฏการณ์ที่ ตามแบบสากล คือให้วันที่ ๑ มกราคม จะฝังค่าความหมายใดลงไป Mahidol
หมุนเวียนเปลี่ยนไปของดวงดาวทั้งปวง เป็นปีใหม่อย่างเป็นทางการ กระนั้นก็ดี รูปภาพอ้างอิงจาก: https://funzine.hu/
แต่มนุษย์ผู้มากด้วยข้อสงสัยและ ตามวัฒนธรรมย่อยของแต่ละประเทศ en/, http://worldtoptop.com/
จินตนาการจึงก�าหนดให้มีวาระของ ยังคงมี “ปีใหม่” ของตนเองอยู่
มหิดลสาร ๒๕๖๑