Page 8 - MU_4April
P. 8

กองกฎหมำย
            ธนาชัย มาโนช นิติกร กองกฎหมาย
                สิทธิได้รับเงินชดเชยเมื่อพ้นสภาพจากการเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย

                                           เพราะเหตุแห่งการตาย (๑)

                  คงไม่ช้าเกินไปส�าหรับการมากล่าว ๖ เท่าของอัตราเงินเดือนสุดท้าย  บุตรใช้นามสกุลหรือระบุในทะเบียน
                ถึงข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วย  - ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๖ ปี แต่  บ้านว่าเป็นบิดาหรืออุปการะเลี้ยงดู
                การบริหารงานบุคคลพนักงาน      ไม่ครบ ๑๐ ปี ได้รับเงินชดเชยไม่น้อย  อย่างบิดากับบุตรทั่วๆ ไป
                มหาวิทยาลัย (ฉบับที่ ๖ ) พ.ศ.๒๕๖๐   กว่า ๘ เท่าของอัตราเงินเดือนสุดท้าย  (๒)  บิดามารดาโดยชอบด้วย
                ซึ่งออกมาตั้งแต่ วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๐   - ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๑๐ ปี ขึ้น  กฎหมาย (๓) พี่น้องร่วมบิดามารดา
                โดยมีสาระส�าคัญที่น่าสนใจ คือข้อ  ไป ได้รับเงินชดเชยไม่น้อยกว่า ๑๐ เท่า  เดียวกัน (๔) พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วม
                บังคับฉบับนี้ก�าหนดให้บุคคลใน  ของอัตราเงินเดือนสุดท้าย      มารดาเดียวกัน  (๕) ปู่ ย่า ตา ยาย (๖)
                ครอบครัวของพนักงานมหาวิทยาลัยมี                              ลุง ป้า น้า อา ล�าดับที่ ๓-๖ ถือตาม
                สิทธิได้รับเงินชดเชยเมื่อพนักงาน  ประการที่สาม  บุคคลที่มีสิทธิได้  ความเป็นจริง
                มหาวิทยาลัยพ้นสภาพจากการเป็น  รับเงินชดเชยดังกล่าว ได้แก่      การระบุบุคคลตาม ง. ไม่จ�าต้อง
                พนักงานมหาวิทยาลัยเพราะเหตุแห่ง  ก. คู่สมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย  เรียงตามล�าดับ สามารถระบุล�าดับใด
                การตายซึ่งแต่เดิมข้อบังคับมิได้ก�าหนด  ข. บุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย  ก่อนก็ได้ให้มีสิทธิได้รับเงินชดเชยและ
                ไว้  ถือว่าเป็นการสร้างขวัญและก�าลัง  ค. บิดามารดาโดยชอบด้วยกฎหมาย  จะระบุกี่คนก็ได้
                ใจให้แก่พนักงานมหาวิทยาลัยเป็น   ง. บุคคลอื่นซึ่งเป็นทายาทโดยธรรม
                อย่างยิ่ง ท�าให้พนักงานมหาวิทยาลัย  ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ     ประการที่สี่ บุคคลที่มีสิทธิจะได้รับ
                หมดห่วง ต้องขอขอบคุณมหาวิทยาลัย  พาณิชย์ที่พนักงานมหาวิทยาลัย  เงินค่าชดเชยในสัดส่วนที่เท่ากัน
                ที่เล็งเห็นความส�าคัญและช่วยเหลือ  ได้ระบุไว้ก่อนตายว่าให้มีสิทธิได้รับ  เพื่อให้เกิดความเข้าใจ เกี่ยวกับ
                คนในครอบครัวของพนักงานมหา     เงินชดเชย ซึ่งทายาทโดยธรรมตาม การได้รับเงินชดเชย ขอยกตัวอย่างให้
                วิทยาลัย ถือเป็นการมอบสวัสดิการที่ดี  ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ดูครับ
                ท�าให้พนักงานมหาวิทยาลัยรู้สึกรัก  มาตรา ๑๖๒๙ มี ๖ ล�าดับ ได้แก่   สมมุติว่าพนักงานมหาวิทยาลัยตาย
                มหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้น ภูมิใจที่ได้อยู่   (๑) ผู้สืบสันดาน ได้แก่ บุตร หลาน  เมื่อได้ปฏิบัติงานติดต่อกันมาเป็นระยะ
   8            ในมหาวิทยาลัย ส่งผลต่อทัศนคติที่ดี และเหลน เป็นต้นไป         เวลา ๙  ปี  ทายาทผู้มีสิทธิจะได้รับเงิน
                ต่อการท�างานจนถ่ายทอดสู่ผลงานและ  ผู้สืบสันดานชั้นบุตรที่ถือเป็นทายาท  ชดเชยตามระยะเวลาปฏิบัติงานของ
                ส่งมอบผลงานที่มีคุณภาพให้แก่มหา   โดยธรรม คือ บุตรชอบด้วยกฎหมาย    พนักงานมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่าแปด
                วิทยาลัย เอาละครับ เกริ่นมาพอสมควร  บุตรนอกสมรสที่บิดามารดาได้จด  เท่าของอัตราเงินเดือนสุดท้าย หากเงิน
                แล้ว เรามาดูเนื้อหาสาระส�าคัญที่เกี่ยว  ทะเบียนสมรสหรือบิดาได้จดทะเบียน  เดือนสุดท้ายได้รับ ๓๐,๐๐๐ บาท
                กับเงินชดเชยเพราะเหตุแห่งการตาย  รับรองบุตรหรือศาลมีค�าพิพากษาว่า  ทายาทผู้มีสิทธิจะได้รับเงินชดเชยเป็น
                ของพนักงานมหาวิทยาลัยตามข้อ   ชายเป็นบิดา บุตรบุญธรรม และบุตร  เงินแปดเท่าของอัตราเงินเดือนสุดท้าย
                บังคับนี้กันครับ              นอกสมรสที่บิดาได้รับรองโดยพฤตินัย   ซึ่งเท่ากับ ๒๔๐,๐๐๐ บาท ( ๓๐,๐๐๐*๘

                  ประการแรก ข้อบังคับนี้ มีผลใช้ เช่น บิดาเป็นผู้แจ้งการเกิดหรือบิดาให้  = ๒๔๐,๐๐๐) ซึ่งจะแบ่งกันดังนี้
                บังคับตั้งแต่วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๐
                เป็นต้นมา                                           พนักงานมหาวิทยาลัยตาย

                  ประการที่สอง จ�านวนเงินชดเชยที่                   ส่วนงานติดต่อผู้มีสิทธิให้
                มีสิทธิได้รับขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการ                  มารับเงินชดเชย
                ปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัย
                นั้น ซึ่งก�าหนดดังนี้          กรณีมีบุคคลครบตาม    กรณีมีแต่บิดามารดา  กรณีมีแต่คู่สมรสและบุตร

                  - ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๑๒๐ วัน   ข้อบังคับฯ     ๑. บิดาได้รับ ๑๒๐,๐๐๐ บาท  ๒ คน
                                                                    ๒. มารดาได้รับ ๑๒๐,๐๐๐ บาท
                                                                                        ๑.  คู่สมรสได้รับ ๑๒๐,๐๐๐ บาท
                                               ๑. บิดาได้รับ ๓๐,๐๐๐ บาท
                แต่ไม่ครบ ๑ ปี ได้รับเงินชดเชยไม่น้อย  ๒. มารดาได้รับ  ๓๐,๐๐๐ บาท       ๒. บุตรคนที่ ๑ ได้รับ
                กว่า ๑ เท่าของอัตราเงินเดือนสุดท้าย  ๓. คู่สมรสได้รับ ๖๐,๐๐๐ บาท             ๖๐,๐๐๐ บาท
                                               ๔. บุตรได้รับ ๖๐,๐๐๐ บาท                 ๓. บุตรคนที่ ๒ ได้รับ
                  - ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๑ ปี แต่  ๕. บุคคลที่พนักงานระบุได้รับ            ๖๐,๐๐๐บาท
                ไม่ครบ ๓ ปี ได้รับเงินชดเชยไม่น้อยกว่า       ๖๐,๐๐๐ บาท
                ๓ เท่าของอัตราเงินเดือนสุดท้าย  อนึ่ง เป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น จ�านวนเงินที่ทายาทมีสิทธิได้รับขึ้นอยู่กับข้อเท็จ

                  - ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๓ ปี แต่ จริงในแต่ละเรื่อง ส�าหรับฉบับนี้คงอธิบายกันได้เท่านี้เนื่องจากเนื้อที่มีจ�านวนจ�ากัด
                ไม่ครบ ๖ ปี ได้รับเงินชดเชยไม่น้อยกว่า  ฉบับหน้าจะขออธิบายเพิ่มเติมในประเด็นที่ผู้อ่านจะพลาดไม่ได้  Mahidol





         April 2018                                               M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13