Page 10 - MU_9Sep60
P. 10

{ Harmony in Diversity
                  ผศ.ดร.เรณู เหมือนจันทร์เชย
                  มิรินด้า บูรรุ่งโรจน์

                                 พหุลักษณ์สังคมไทยใต้ร่มพระบารมี


                        ‘ภาษา’ และ ‘วัฒนธรรม’ เป็นพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ























                  สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม “พหุลักษณ์สังคมไทยใต้ร่มพระบารมี”   ล�าดับต่อมาเป็นผลงานของ รอง
               เอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล จัดประชุม  เนื้อหาและจุดเด่นในการประชุม  ศาสตราจารย์ ดร.สุจริตลักษณ์ ดี
               วิชาการระดับชาติ เพื่อเทิดพระเกียรติ  วิชาการครั้งนี้ สถาบันวิจัยภาษาฯ ได้  ผดุง น�าเสนอผลการท�างานการพัฒนา
               และถวายความอาลัยต่อพระบาท      คัดเลือกตัวแทนหน่วยงานซึ่งเป็นผู้  อัตลักษณ์และฟื้นคืนภาษาชาติพันธุ์
               สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย  สร้างผลงานเด่นในการวิจัยและการ  ผ่านกระบวนการศึกษาค้นคว้าวิจัย
               เดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤ  พัฒนาผ่านองค์ความรู้ด้านภาษาและ  ด้านภาษาศาสตร์ในหัวข้อ “ปะหล่อง
               บดินทร สยามินทราธิราชบรมนาถ    วัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาคน พัฒนา  จากชาวเขา...สู่ชาวเรา”  ทั้งใน
               บพิตร ที่ทรงพระราชทานแนวทางใน  ชุมชน สังคม ประเทศชาติและสังคม  ประเทศไทย จีน และเมียนมา โดยยึด
               การพัฒนาคุณภาพชีวิตของ         โลก จ�านวน ๔ ท่าน ขึ้นเวทีเสวนา  หลักการท�างานที่สอดคล้องกับพระราช
               ประชากรทุกเชื้อชาติทุกชนเผ่าบน  วิชาการ ภายใต้หัวข้อ “พหุลักษณ์  ด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
               ผืนแผ่นดินไทยด้วยพระมหา        สังคมไทยใต้ร่มพระบารมี ประเด็น  “การที่จะช่วยเหลือในทางวิชาการ ก็
               กรุณาธิคุณ อันส่งผลให้แผ่นดินไทย  ทางด้านภาษาและวัฒนธรรม การ  ต้องค�านึงถึงสภาพของท้องที่และของ
               เป็นสังคมพหุลักษณ์ทางเชื้อชาติ ภาษา   ศึกษา และการพัฒนาชาติพันธุ์”   คน” ซึ่งหมายถึงการท�างานภาคสนาม
               วัฒนธรรมดังเช่นทุกวันนี้                                      เพื่อการเข้าใจและเข้าถึงกลุ่มคนและ
                                                 เริ่มต้นการเสวนา โดย อาจารย์   ภาษาของกลุ่มที่จะศึกษา
                  การประชุมวิชาการภาษาและ     ดร.ชิตชยางค์  ยมาภัย  กล่าวถึง
               วัฒนธรรม ประจ�าปี พ.ศ. ๒๕๖๐ จัด  พระราชปรีชาญาณในการบริหารและ   ผลงานอันโดดเด่นอีกชิ้นหนึ่งของ
               ขึ้นเมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๐         ดูแลประเทศอย่างทั่วถึงของในหลวง  สถาบันฯ  โดยการท�างานวิจัยของ
               ณ  ห้องประชุมอเนกประสงค์ ชั้น ๒   รัชกาลที่ ๙ ในการพัฒนาความเป็นอยู่  ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สุวิไล
               สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย   ของชาวเขา ซึ่งมีพระบรมราชโองการ  เปรมศรีรัตน์ ซึ่งมีการขยายขอบเขต
               มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา เพื่อน�า  ให้สร้าง “เหรียญที่ระลึกส�าหรับชาว  และบูรณาการข้ามศาสตร์จากด้าน
               เสนอถึงผลการท�างานด้านภาษาและ  เขา”  เพื่อแสดงความว่าผู้ที่ได้รับ  ภาษาศาสตร์ไปสู่การพัฒนาระบบการ
               วัฒนธรรมเพื่อพัฒนาประเทศ โดย   พระราชทานเหรียญดังกล่าว มีศักดิ์  ศึกษาของเยาวชนกลุ่มชาติพันธุ์ใน
               ด�าเนินตามรอยพระปรีชาญาณของ    และสิทธิแห่งความเป็นพลเมืองไทย   พื้นที่ชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย
               ในหลวงรัชกาลที่ ๙ โดยได้รับเกียรติ  ทัดเทียมกับคนไทยกลุ่มต่างๆ นับเป็น  ซึ่งตอบสนองต่อพระราชด�ารัสของ
               จากศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง   นโยบายในการพัฒนามนุษย์บนพื้น   ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่ว่า “การศึกษาที่
               มไหสวริยะ  รักษาการแทนรอง      ฐานแห่งความเท่าเทียมกันอย่างมี  นี่มีความส�าคัญมาก ให้พยายามจัด
               อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เป็น  กุศโลบาย ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการ  ให้ดีให้พลเมืองสามารถพูดภาษา
               ประธานเปิดการประชุม และการกล่าว  พัฒนาคนโดยตระหนักถึงความเท่า  ไทยได้” ตามที่ท่านทรงห่วงใยในการ
               ปาฐกถาพิเศษ โดยพระราชญาณกวี    เทียมในบริบทแห่งความหลากหลาย   ศึกษาและการสื่อสารของราษฎร
               (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช) รองเจ้าอาวาสวัด  ทางเชื้อชาติ ภาษา และชาติพันธุ์  จังหวัดชายแดนภาคใต้
               พระราม ๙ กาญจนาภิเษก ในหัวข้อ


   10
         Volumn 09 • September 2017
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15