Page 17 - MU_3Mar63
P. 17

Special Scoop





               ให้ปรับขยำยให้เป็นมหำวิทยำลัยที่สมบูรณ์เสียก่อน เพื่อให้สม  มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์จึงเปรียบเสมือนแสงยามรุ่งอรุณ
               พระเกียรติ แต่ขอให้เป็นไปในทำงประหยัด...”  ซึ่งคณะผู้บริหาร  ของมหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน ที่เปล่งประกายร�าไรก่อน
               มหาวิทยาลัยได้รับพระราชกระแสรับสั่งนั้นมาด�าเนินการ และ  จะส่องแสงสว่างไสว ในฐานะสถานศึกษาที่เต็มเปี่ยมไปด้วย
               ได้อนุมัติให้มีการจัดตั้งคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์  สรรพวิชาอันทรงคุณค่าหลากหลายแขนง เป็นแหล่งศึกษา
               ขึ้น พร้อมจัดท�าร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยใหม่ เพื่อ  ที่สร้างจากเกียรติภูมิของพระนาม “มหิดล” ทั้งยังประโยชน์
               ขยายมหาวิทยาลัยให้เป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์ตามพระราช  มาสู่ประเทศชาติต่อไป
               กระแสรับสั่ง                                     หากท่านสนใจประวัติศาสตร์ของ
                  จนกระทั่งวันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ มีประกาศพระราช-                  มหาวิทยาลัยมหิดล  สมัยก่อนการ
               บัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล  พ.ศ.  ๒๕๑๒  ลงในราชกิจ-                                                                                                      พระราชทานนาม สามารถเข้าเยี่ยมชม
               จานุเบกษา มีใจความส�าคัญว่า “พระบำทสมเด็จพระปรมินทร                 นิทรรศการออนไลน์ ได้ที่ https://museum.
               มหำภูมิพลอดุลยเดช  มีพระบรมรำชโองกำรโปรดเกล้ำฯ                          li.mahidol.ac.th/th/mahidol-university-
               ให้ประกำศว่ำ โดยที่เป็นกำรสมควรปรับปรุงมหำวิทยำลัย  era1943/
               แพทยศำสตร์ให้เป็นมหำวิทยำลัยที่สมบูรณ์ โดยจัดตั้งเป็น
               มหำวิทยำลัยขึ้นใหม่เรียกว่ำ “มหำวิทยำลัยมหิดล” มีขอบเขต  เรียบเรียงเนื้อหาโดย
               ด�ำเนินกำรกว้ำงขวำงขึ้น...”                      นำยพงศกร ระวิเพียรทรัพย์
                  จึงถือเป็นการพระราชทานนามมหาวิทยาลัยแห่งใหม่นี้  นำยคมสันต์ เดือนฉำย
               ว่า “มหาวิทยาลัยมหิดล” อย่างเป็นทางการในวันที่พระราช  ฝ่ำยจดหมำยเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังควำมรู้
               บัญญัตินี้มีผลบังคับใช้ในวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ และ  มหำวิทยำลัยมหิดล
               ถือเอาวันที่ ๒ มีนาคม ของทุกปี เป็น “วันพระราชทานนาม
               มหาวิทยาลัยมหิดล” สืบมา























                  วันจันทร์ที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ศ.นพ.บรรจง มไหสวริยะ                                                                                                 ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้
               รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ให้เกียรติเป็น มหาวิทยาลัยมหิดล
               ประธานเปิดนิทรรศการ “มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์” รุ่งอรุณ   ขอเชิญผู้สนใจทุกท่านเข้าเยี่ยมชมนิทรรศการออนไลน์
               ก่อนเก่า เรามหิดล ในโอกาสครบรอบ ๕๑ ปี วันพระราชทาน  เนื่องในโอกาสวันพระราชทานนามมหาวิทยาลัยมหิดล
               นาม ๑๓๒ ปี มหาวิทยาลัยมหิดล โดย ฝ่ายจดหมายเหตุและ ประจ�าปี ๒๕๖๓
               พิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งภายใน  นิทรรศการ “มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์” รุ่งอรุณ ก่อนเก่า
               นิทรรศการบรรยายเรื่องราวประวัติศาสตร์วิวัฒนาการของ เรามหิดล
               มหาวิทยาลัยมหิดล ในยุคสมัยของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์   ผ่านทาง Website ได้ที่
               ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๘๖ จนถึงช่วงการพระราชนามปี พ.ศ. ๒๕๑๒   https://museum.li.mahidol.ac.th/th/mahidol-university-
               โดยมีนักศึกษาอาสาสมัคร MU Guide ให้การต้อนรับและ era1943/
               แนะน�าตลอดนิทรรศการ                              ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมของ
                  การนี้ ศ.คลินิก เกียรติคุณ นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร   หอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหิดล
               นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล นายขจรเกียรติ รักพานิชมณี รองผู้ว่า                                                                                                             Facebook: www.facebook.com/MUARMS/
               ราชการจังหวัดนครปฐม นางสาวสลารีวรรณ ทัพทวี นายอ�าเภอ  Twitter: twitter.com/muarms
               พุทธมณฑล และคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดลร่วมชม                            Instagram: www.instagram.com/mahidol_museum
               นิทรรศการฯ ด้วย                                  Website: http://museum.li.mahidol.ac.th/





                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๓      17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22