Page 16 - MU_3Mar63
P. 16

Special Scoop




                              มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ รุ่งอรุณ ก่อนเก่า เรามหิดล

                                      นิทรรศการวันพระราชทานนาม



                  มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ รุ่งอรุณ ก่อนเก่า เรามหิดล ประชาชนที่ป่ วย
                  มหาวิทยาลัยมหิดลมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน โดยสามารถ ไข้ตามถิ่นห่างไกล
               เท้าความไปได้ถึงการก่อตั้งโรงเรียนแพทยากร ณ โรงศิริราช ในปี พ.ศ. ๒๕๐๒
               พยาบาล ตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมิน     มหาวิทยาลั ย
               ทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมุ่งหวังให้ จึ งก่ อตั้งคณะ
               มีสถานพยาบาลและบุคลากรทางการแพทย์ ส�าหรับดูแลรักษา แพทยศาสตร์
               ราษฎรที่ป่วยไข้ในทุกชนชั้น จนต่อมาโรงเรียนแพทยากรพัฒนา เชียงใหม่  หรือ
               เป็นโรงเรียนราชแพทยาลัย และโอนย้ายไปอยู่ภายใต้สังกัดของ คณะแพทยศาสตร์
               จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งต่อมาถูกเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น โรงพยาบาลนคร
               คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล ซึ่งนับว่าเป็นคณะตั้ง เชี ยงใหม่ ขึ้น
               ต้นคณะแรกๆ ที่ก่อให้เกิดเป็นมหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน  อี กคณะ  และ
                  ความซับซ้อนของประวัติศาสตร์ห้วงเวลาข้างต้น ถูกควบ ไม่นานจากนั้น
               รวมเป็นประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน มหาวิทยาลั ย
               จนแทบแยกไม่ออก แต่หากจะนับอายุและจุดก�าเนิดของ แพทยศาสตร์มี
               มหาวิทยาลัยมหิดลในฐานะสถาบันอดุมศึกษาอย่างเป็น นโยบายผลิตแพทย์และพยาบาลเพิ่มขึ้นตามอัตราส่วนของ
               ทางการนั้น คงปฏิเสธไม่ได้ว่า มีจุดเริ่มต้นมาจากมหาวิทยาลัย จ�านวนประชากร จึงก่อตั้งคณะแพทยศาสตร์ล�าดับที่สี่ขึ้น คือ
               เฉพาะทาง ตามหลักการในการปกครองและพัฒนาประเทศให้ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘
               ทัดเทียมนานาอารยประเทศ ผ่านนโยบายที่ต้องการมอบการ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ-
               ศึกษาให้แก่ราษฎรของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในปี  บพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามดังกล่าว
               พ.ศ. ๒๔๘๖  ภายใต้ชื่อ “มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์” ซึ่ง  นอกจากคณะข้างต้น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ยังมีนโยบาย
               ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๖ เพื่อเป็น ก่อตั้งโรงเรียนและคณะอื่นเพิ่มเติม  เพื่อสร้างบุคลากร
                                                              และผู้สนับสนุนทางด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ส�าหรับ
                                                              ตอบสนองความต้องการของประเทศและประชาชน อาทิ คณะ
                                                              สาธารณสุขศาสตร์ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ คณะเทคนิคการแพทย์
                                                              ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ และคณะ
                                                              เวชศาสตร์เขตร้อน ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ บัณฑิตวิทยาลัย ในปี
                                                              พ.ศ. ๒๕๐๗ คณะกายภาพบ�าบัด ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ คณะ
                                                              ทันตแพทยศาสตร์พญาไท และคณะเภสัชศาสตร์พญาไท
                                                              ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑
               ศูนย์รวมทางการศึกษา วิจัย และส่งเสริมแพทยศาสตร์ ทันต  ในระหว่างการก่อตั้งคณะต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย
               แพทยศาสตร์ เภสัชกรรมศาสตร์ และสัตวแพทยศาสตร์ รวม แพทยศาสตร์ มีการถ่ายโอน โยกย้ายคณะส่วนงานเกิด
               ถึงวิชาพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัย โดยมีขอบเขตการศึกษา ขึ้นแทบทุกขณะ ผ่านการปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาให้เป็น
               เฉพาะทางด้านแพทยศาสตร์และสาธารณสุข โดยในระยะเริ่ม ระเบียบมากขึ้น จึงมีการโอนย้ายคณะต่างๆ ที่มีสาขาวิชาที่
               แรกของการสถาปนา มีคณะตั้งต้นทั้งสิ้น ๔ คณะ ประกอบด้วย  ทับซ้อนออกจากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ไปยังสถาบันการ
               คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล คณะทันตแพทยศาสตร์  ศึกษาอื่นๆ ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
               คณะเภสัชกรรมศาสตร์ และคณะสัตวแพทยศาสตร์ ซึ่งได้ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ ย้ายไปสังกัด
               รับโอนย้ายมาจากคณะและแผนกอิสระของจุฬาลงกรณ์-                                                                     จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ย้ายไป
               มหาวิทยาลัย                                    สังกัดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และคณะแพทยศาสตร์โรง
                  เพื่อพัฒนาการศึกษาและผลิตบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ พยาบาลนครเชียงใหม่ ย้ายไปสังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
               ด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้มากขึ้น เพียงพอต่อความ  การด�าเนินพันธกิจของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เจริญ
               ต้องการของประเทศ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จึงก่อตั้งคณะ รุดหน้าเป็นอย่างมาก กระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๐๗ คณะผู้บริหาร
               อื่นๆ เพิ่มขึ้น ไล่เรียงจาก “คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย น�าโดย ศ.นพ.ชัชวาล โอสถานนท์ อธิการบดี
               จุฬาลงกรณ์” ในปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ซึ่งเป็นโรงเรียนแพทย์แห่งที่สอง ในสมัยนั้น ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จ
               ของประเทศ ตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรเมน พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อถวาย
               ทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ที่พระราชทาน รายงานและได้ขอพระราชทานพระนามาภิไธย “มหิดล” ใน
               พระบรมราโชวาท ให้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ผลิตแพทย์ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
               ให้เพียงพอต่อการช่วยเหลือประชาชน ต่อมามหาวิทยาลัย เป็นชื่อของมหาวิทยาลัยแทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เดิม
               ได้ตระหนักถึงความส�าคัญของประชาชนที่เจ็บป่วยในชนบท  ในการนั้น พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
               จึงมีนโยบายกระจายบุคลากรทางการแพทย์เพื่อช่วยเหลือ บรมนาถบพิตร มีพระราชกระแสรับสั่งว่า “…ไม่ขัดข้อง แต่ขอ


   16     March 2020                                              M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21