Page 19 - MU_4April62
P. 19
Special Scoop
บทเรียนจากงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นสู่การเผยแพร่องค์ความรู้
จากงานวิจัยระดับนานาชาติในรูปแบบภาพยนตร์สารคดี :
2018 Guangxi Ethnographic Film Festival
ภัทรำภรณ์ ภูบำล
หน่วยสนับสนุนการวิจัย สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
กว่าสีปีที่ผ่านมาสถาบันวิจัยภาษา
และวัฒนธรรมเอเชีย (RILCA)
มหาวิทยาลัยมหิดล ได้มุ่งขยายเครือข่าย
ความสัมพันธ์กับมหาวิทยาลัยชั้นน�าของ
สาธารณรัฐประชาชนจีนผ่านโครงการ
“พัฒนาการเรียนการสอนภาษา-
วัฒนธรรมไทยให้นักศึกษาต่างชาติ
(ไทย-จีน)” อีกทั้ง ยังมีการพัฒนาความ ประเทศอาเซียนให้ร่วมเข้าฉายในงาน ในชุมชนของพวกเขาเองได้ ซึ่งเป็นผล
ร่วมมือด้านการวิจัยและด้านการศึกษา เทศกาลดังกล่าว ในการนี้ ผศ.ดร. เชิงประจักษ์ทางหนึ่งของกระบวนการ
เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างกันอย่าง ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร ได้น�าทีมบุคลากร พัฒนาชุมชนท่ามกลางความหลากหลาย
สม�่าเสมอ จากสถาบันวิจัยภาษาฯ ประกอบด้วย ทางภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
เมื่อเร็วๆ นี้ พิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยา ผศ.ดร.เรณู เหมือนจันทร์เชย และ อย่างยั่งยืน
กวางสี (Anthropology Museum of นางสาวภัทราภรณ์ ภูบาล ท�าหน้าที่ การฉายภาพยนตร์สารคดี “ฟื้นคน
Guangxi) เมืองหนานหนิง ได้จัดงาน น�าเสนอภาพยนตร์สารคดีในฐานะ ฟื้นภาษา ด้วยงานวิจัยชาวบ้าน”
Guangxi Ethnographic Film Festival ตัวแทนจากประเทศไทย จากสถาบันวิจัยภาษาฯ ได้รับกระแสตอบ
ประจ�าปี ๒๐๑๘ ขึ้น งานเทศกาลดังกล่าว สารคดีเรื่อง “ฟื้นคน ฟื้นภาษา รับอย่างดีเยี่ยมจากผู้เข้าร่วมงานเทศกาล
เป็นงานเทศกาลภาพยนตร์สารคดี ด้วยงานวิจัยชาวบ้าน” จัดท�าขึ้นเพื่อเป็น ทั้งนักวิชาการจากแวดวงมานุษยวิทยา
ในระดับนานาชาติที่จัดขึ้น ทุก ๒ ปี สื่อกลางในการเผยแพร่กระบวนการ และสังคมวิทยา นักวิชาการในด้าน
เพื่อคัดเลือกผลงานภาพยนตร์สารคดี ท�างานวิจัยเพื่อท้องถิ่นของสถาบันฯ ภาพยนตร์ สถานีโทรทัศน์ในประเทศจีน
จากนักสังคมวิทยา มานุษยวิทยา และ ในด้านการฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรม รวมถึงนักเรียน นักศึกษา และประชาชน
ศิลปินในสาขาภาพยนตร์ รวมถึงนักศึกษา ในกลุ่มชาติพันธ์ุที่ภาษาและวัฒนธรรม
และประชาชนทั่วไป ทั้งในประเทศจีนและ อยู่ในภาวะวิกฤตใกล้สูญ ด้วยการสร้าง ทั่วไปกว่า ๕๐ คน ภายหลังจากการ
นานาชาติเข้าร่วมฉายในงาน โดยใน ระบบตัวเขียนอักษรไทยเพื่อเป็นเครื่องมือ ฉายภาพยนตร์จบแล้วทางคณะได้น�าเสนอ
ปี ๒๕๖๑ ที่ผ่านมา มีภาพยนตร์สารคดี ในการบันทึกภูมิปัญญาและองค์ความรู้ ภาพรวมการศึกษาวิจัยการฟื้นฟูภาษา
ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมฉายในงาน ต่างๆ ของกลุ่มชาติพันธุ์ได้ด้วยภาษา และวัฒนธรรมในภาวะวิกฤตของกลุ่ม
จ�านวนทั้งสิ้น ๘๒ เรื่องตลอดระยะเวลา ของตัวเอง ผลจากการวิจัยที่ผ่านมา ชาติพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทยต่อผู้เข้าชม
๕ วัน และภาพยนตร์สารคดีจากผลงาน ได้ส่งผลให้ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์เหล่า และเปิดเวทีให้มีการซักถามและ
วิจัยของสถาบันวิจัยภาษาฯ เรื่อง “ฟื้นคน นั้นพลิกฟื้นคืนชีวิตเพื่อกลับมาท�าหน้าที่ แลกเปลี่ยนความรู้อย่างกว้างขวาง ทั้งด้าน
ฟื้นภาษา ด้วยงานวิจัยชาวบ้าน” ซึ่งได้รับ ส่งต่อวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ส�าหรับ เทคนิควิธีในการถ่ายท�า ไปจนถึงรายละเอียด
การสนับสนุนการจัดท�าจากส�านักงาน คนรุ่นสู่รุ่นได้อีกครั้ง ซึ่งนับเป็นการ ของเนื้อหางานวิจัยที่น�าเสนอผ่าน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัย สนับสนุนให้เกิดการสร้างความเข้มแข็ง ภาพยนตร์สารคดี นับเป็นก้าวย่างที่ดี
เพื่อท้องถิ่น เพื่อบอกเล่าเรื่องราวการใช้ ให้กับชุมชนจากภายใน ท�าให้ชุมชนกลุ่ม ในการเปิดตัวงานวิจัยของสถาบันวิจัย
กระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่นในการฟื้นฟู ชาติพันธุ์เกิดความภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ ภาษาฯ ให้เป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติ
ภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต ของตัวเอง อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริม และยังเป็นโอกาสอันดีในการแลกเปลี่ยน
ของกลุ่มชาติพันธุ์ประเทศไทย จ�านวน ศักยภาพของชาวบ้านให้เป็น “นักวิจัย เรี ยนรู้ การเผยแพร่ ผลงานวิจัย
๔ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มชอง เลอเวือะ มลาบรี ท้องถิ่น” ที่สามารถเป็นแกนน�าของชุมชน ทางมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา
และมลายูถิ่น ได้รับคัดเลือกให้เป็น ในการน�ากระบวนการวิจัยมาปรับใช้เพื่อ ในรูปแบบใหม่ที่น่าสนใจยิ่ง
ภาพยนตร์หนึ่งในสองเรื่องที่มาจากกลุ่ม แก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิตประจ�าวันที่เกิดขึ้น
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 19