Page 11 - MU_4April62
P. 11

Harmony in Diversity
                                                                                          เขียนโดย พลธรรม์ เศียรเมฆัน จันทร์ค�ำ
                                                                                    นักปฏิบัติการวิจัย สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา
                                                                                                   มหาวิทยาลัยมหิดล


                   การอบรม “จิตวิทยาความขัดแย้งแนวพุทธ”



                        ส�าหรับชาวพุทธที่อยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้


























                  โครงการสานเสวนาชาวพุทธ                 ลูกศรดอกแรก เป็นเวทนาทางกาย                  เพื่อฝึกการสังเกตและเฝ้าดูอารมณ์
               เพื่อการอยู่ร่วมกันระหว่างคน                             ที่เกิดขึ้นจากปัจจัยภายนอก ขณะที่             และความคิดในปัจจุบันขณะโดย
               กลุ่มใหญ่-กลุ่มน้อยในสังคมไทย                 ลูกศรดอกที่สอง เป็นเวทนาทางใจ                ไม่เข้าไปปรุงแต่งให้ลูกศรดอกที่สอง
               ภายใต้ความร่วมมือระหว่างสถาบัน อันเป็นความวิตกกังวลที่สืบเนื่องจาก  มาซ�้าเติมเพิ่มทุกข์ ซึ่งผู้เข้าร่วมเกิน
               สิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา  ทุกขเวทนาภายนอก จากนั้นวิทยากร     ร้อยละ ๘๐ มองเห็นประโยชน์จากการ
               มหาวิทยาลัยมหิดลและศูนย์ความ จึงกล่าวถึงการพิจารณาอย่างแยบคาย  อบรมเชิงปฏิบัติครั้งนี้  กล่าวคือ
               มั่นคงศึกษา  ETZ  ซูริค  ในความ ถึงสาเหตุของการเกิดทุกข์ว่าเกิดจาก  สามารถท�าให้เข้าใจกระบวนการ
               สนับสนุนของกระทรวงการต่าง ลูกศรดอกใด
               ประเทศ สมาพันธ์รัฐสวิตเซอร์แลนด์  ซึ่ ง โ ด ย ม า ก
               ได้จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ  คนเรามักจะจม
               “การเจริญสติเพื่อเป็ นเครื่องมือ อยู่กับกองทุกข์
               เอาชนะความวิตกกังวลและเข้าใจ ที่ เ ป็ น ลูก ศ ร
               ความขัดแย้ง”  โดย  ดร.จอห์น                  ด อ ก ที่ ห นึ่ ง
               แมคคอนแนล เป็นวิทยากร ผู้เขียน มุ่งแต่จะจัดการ
               หนังสือ คลายเครียดด้วยลมหายใจ :  เหตุ ปั จจั ย
               เยียวยาความเครียดด้วยวิธีพุทธ                         ภายนอกที่เรา
               เมื่อวันที่ ๑๑ - ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๒                 ไม่ สามารถ
               ณ โรงแรมซีเอส จังหวัดปัตตานี   ควบคุมได้ โดยไม่ได้ตระหนักว่าทุกข์  เกิดทุกข์และการมีสติสามารถน�าไป
                  การอบรมเชิงปฏิบัติการเป็นการ           ที่แท้จริงนั้นเกิดจากการปรุงแต่งของ  แก้ไขปัญหาได้ สามารถละทุกข์ได้
               น�าเสนอวิธีการเจริญสติและจิตวิทยา จิตอันเกิดจากศรลูกที่สองและในส่วน  เร็วขึ้น ลดความเครียดได้ แม้ส�าหรับ
               แนวพุทธเพื่อเข้าใจความทุกข์ ในฐานะ นี้เอง ที่เรามีอ�านาจควบคุมความคิด  บางคนซึ่งมีพื้นฐานความรู้มาแล้ว
               เครื่องมือแก้ไขความวิตกกังวลและ และการปรุงแต่งซึ่งจะน�าพาเราออก  ก็สามารถน�าไปต่อยอดฝึกฝนตนเองได้
               ความขัดแย้ ง  ให้ แก่กลุ่มถักทอ จากทุกข์ได้                   อย่างไรก็ตาม ผู้เข้าร่วมเห็นว่าการ
               สันติภาพ (กทส.) โดย ดร.จอห์น              ระหว่างการอบรม ผู้เข้าร่วมได้มี  อบรมมีเวลาน้อย หากขยายเวลาใน
               แมคคอนแนล ได้แนะวิธีการวิเคราะห์ โอกาสแบ่งปันความทุกข์ของตนเอง   การอบรมออกไป  เพื่อให้ มีการ
               ความทุกข์และวิธีแก้ไขความทุกข์              และแสดงความพยายามที่จะจัดการ  ฝึกปฏิบัติ การแลกเปลี่ยนให้มากขึ้นก็
               ตามหลักอริยสัจ ๔ โดยเริ่มจากการ               ความทุกข์ในระหว่างท�ากิจกรรม                จะท�าให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
               มีสติในปัจจุบันขณะเพื่อท�าความรู้จัก ด้วยการวิเคราะห์ให้เข้าใจความทุกข์   ในกระบวนการคลี่คลายความวิตก
               ทุกข์ ที่อุปมาเป็นลูกศร ๒ ดอก ได้แก่  และการฝึกปฏิบัติสมาธิแบบเจริญสติ  กังวลได้ชัดเจนมากขึ้น




                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16