Page 13 - MU_10Oct61
P. 13

Special Article
                                                                                                   ศักดิ์ชัย เอี่ยมกระสินธุ์
                                                                              เครดิตภาพจาก https://www.facebook.com/voicesbehindbars





























                                                       หัวใจ...         ที่ยังคงเต้นหลังก�ำแพง





                  “คนคุก” คือค�าที่สังคมใช้ตีตรากลุ่มผู้  เข้าไปท�ากระบวนการเรียนรู้ต่างๆ ให้กับ  พวกเธอนั้นไม่ขาดตอนและหยุดชะงักไป
               ต้องขัง ผู้ที่เคยก้าวพลาดในชีวิตทั้งหญิง  กลุ่มผู้ต้องขังหญิงในทัณฑสถานหญิง  “โครงการนี้ที่ท�าให้หนูรู้สึกว่าไม่มี
               และชาย ซึ่งก�าลังถูกกฎหมายบ้านเมือง  เชียงใหม่และเรือนจ�ากลางจังหวัด  อะไรน่ากลัว  ไม่มีอะไรในชีวิตน่า
               ลงโทษโดยการจ�ากัดอิสรภาพทางร่างกาย   ขอนแก่น โครงการนี้เกิดขึ้นด้วยความ  ท้อถอย  แต่มีเพียงอย่างเดียวคือ
               ตื่น นอน ใช้ชีวิตอย่างเป็นเวลา ตัดขาด  ตั้งใจที่อยากจะชวนให้ผู้ต้องขังหญิงได้  เมื่อได้ออกไปใช้ชีวิต หนูจะดูแลแม่
               จากโลกภายนอกและคนที่รัก ซึ่งแน่นอน  กลับมาเห็นถึงคุณค่าของชีวิต ความสุข   และครอบครัวให้ดีที่สุด” เสียงหนึ่งจาก            13
               ว่า คนในอยากออก คนนอกย่อมไม่อยาก  และพลังภายในที่แท้จริง  โดยอาศัย  ผู้ต้องขังหญิงที่เข้าร่วมกิจกรรม
               เข้า  ถึงแม้ข่าวสารที่เรารับรู้กันอยู่ใน  กระบวนการทางจิตตปัญญาศึกษาในการ
               ปัจจุบันได้น�าเสนอให้เราเห็นว่า กลุ่มคน  สร้างสภาวะการรู้เนื้อรู้ตัว การฟัง ศิลปะ   ความน่ากลัวที่สุดของการถูกจองจ�า
               เหล่านี้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามปัจจัยพื้น  เพื่อให้พวกเธอเหล่านั้นได้สัมผัสถึงคุณค่า  อาจไม่ได้อยู่ที่เพียงการขาดอิสรภาพทาง
               ฐานที่พวกเขาควรได้รับ และใช้เวลาใน  ที่งดงามและจริงแท้ที่ถูกซุกซ่อนอยู่ภายใน  กาย หรือการถูกตัดขาดจากโลกภายนอก
               แต่ละวันกับกิจกรรมเสริมสร้างทักษะ  ตนเองภายใต้กฎเกณฑ์ข้อจ�ากัดของการ  แต่ความน่ากลัวอย่างที่สุดอาจจะอยู่ที่
               อาชีพและหลากหลายกิจกรรมการอบรม   ขาดอิสรภาพทางร่างกาย         พวกเธอถูกตัดขาดและลิดรอนศักดิ์ศรี
               ตราบจนวันที่พวกเขาเหล่านี้ได้ออกมาสู่  นอกจากการฟื้นฟูสภาพจิตใจ               ในความเป็นมนุษย์
               โลกภายนอก แต่น้อยคนที่จะเคยคิดถึงว่า  กลุ่มผู้ต้องขังหญิงที่เข้ารับการอบรม                          จิตตปัญญาศึกษาเชื่อเหลือเกินว่า ไม่มี
               พวกเขาเหล่านี้รู้สึกอย่างไรอยู่ภายใน  คณะท�างานยังหมายมั่นที่จะส่งต่อความ  มนุษย์คนใดที่อยากเป็นคนไม่ดีมาตั้งแต่
               จิตใจและมองเห็นพวกเขาเป็นมนุษย์เฉก  งดงามนี้ให้พวกเธอสามารถดูแลจิตใจของ  ก�าเนิด แต่ด้วยสภาพสังคม สิ่งแวดล้อม
               เช่นคนที่อยู่ข้างนอกรั้วก�าแพงสูงสิบเมตร  กันและกัน โดยท�าการคัดเลือกกลุ่มผู้ต้อง  การเลี้ยงดู และปัจจัยต่างๆ นานา ภายใต้
               นี้เช่นกัน                     ขังหญิงที่มีความพร้อมในการเป็นแกนน�า  บริบทและสถานการณ์ที่ยากล�าบากและ

                  “จากใจสู่ใจ : นวัตกรรมการสร้าง  ที่สามารถออกแบบและจัดกระบวนการ  กดดันได้บีบคั้นให้ผู้คนกลุ่มหนึ่งเลือกที่จะ
               การเปลี่ยนแปลงภายในเพื่อปฏิรูป  เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีคณะท�างานเป็นพี่  ท�าผิดกฎระเบียบที่สังคมสร้างขึ้นและอาจ
               ภายนอก”  คือชื่อโครงการที่ศูนย์จิตต  เลี้ยงคอยให้ค�าปรึกษาอยู่ไม่ห่าง เพราะ  น�าไปสู่จุดจบของอิสรภาพในเรือนจ�า
               ปัญญาศึกษา ได้รับทุนสนับสนุนจาก  เราต้องยอมรับในความจริงว่าคณะท�างาน  หากแต่ในวันนี้ กลุ่มผู้ต้องขังกลุ่มเล็กๆ
               ส�านักงานการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)   ไม่สามารถใช้ชีวิตร่วมกับกลุ่มผู้ต้องขัง  กลุ่มหนึ่งได้มีโอกาสเรียนรู้และสัมผัสถึง
               ซึ่งคณะท�างานประกอบไปด้วยมหา   หญิงได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง และการที่พวก  อิสรภาพทางจิตใจและคุณค่าของความ
               บัณฑิตรุ่นที่ ๑ และรุ่นที่ ๒ จากหลักสูตร  เธอมีแกนน�าที่คอยดูแลกันได้อย่างใกล้ชิด  เป็นมนุษย์ที่ด�ารงอยู่อย่างงดงามภายใน
               ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตต  ย่อมเป็ นประโยชน์ ที่ดีซึ่งเอื้อให้  ตัวของพวกเธอ เสมือนดังสมบัติที่ไม่ว่า
               ปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล โดยได้  กระบวนการเรียนรู้และเติบโตภายในของ  ใครก็ไม่อาจพรากมันไปจากพวกเธอได้...
                                                                             ตลอดกาล  Mahidol



                                                                                                    มหิดลสาร ๒๕๖๑
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18