Page 6 - MU_11Nov61
P. 6

Special Scoop
            ทิพย์วรรณ อุดทาค�า




            ม.มหิดล ผนึกก�าลัง วท. สวทช. เอ็นซีซีไออี ทีเส็บ และกรุงเทพมหานคร    หน่วยงานวิจัยต่างๆ ทั่วโลก ส่งผลให้การแข่งขัน
                                                                                 RoboCup ได้รับความสนใจอย่างแพร่หลาย
                   ดึง RoboCup 2021 จัดใหญ่ที่ไทย                                และเกิดการพัฒนาอย่างรวดเร็ว โดยทุกปีจะมี
                                                                                 การปรับโจทย์ให้มีความใกล้เคียงกับการใช้งาน
                 มุ่งปั้นไทยสู่ผู้น�าอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ของอาเซียน                จริงมากขึ้น ปัจจุบันมีผู้ร่วมกิจกรรมในแต่ละปี
                                                                                 กว่า ๓,๐๐๐ คน จากกว่า ๔๕ ประเทศทั่วโลก
                                                                                 โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ทั้งนี้การ
                                                                                 จัดการแข่งขันจะแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม ได้แก่
                                                                                 การแข่งขันหลัก ประกอบด้วยการแข่งขันในกลุ่ม
                                                                                 อายุไม่เกิน  ๑๙ ปี หรือ RoboCupJunior League
                                                                                 และการแข่งขันในกลุ่มอายุ ๑๙ ปีขึ้นไป หรือ
                                                                                 RoboCup Major League”
                                                                                   “การที่ RoboCup Federation เลือกให้
                                                                                 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน

           เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๖๑ มหาวิทยาลัย  สนับสนุนการจัดงาน RoboCup 2021 Bangkok,   RoboCup 2021 Bangkok, Thailand เป็นการ
         มหิดล โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ร่วมกับ   Thailand อย่างเต็มที่ และขอแสดงความยินดีกับ  แสดงให้เห็นถึงความพร้ อมของประเทศ
         กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บริษัท เอ็น.  มหาวิทยาลัยมหิดลและบริษัท เอ็น.ซี.ซี. อินเตอร์  เพราะประเทศไทยเคยมีประสบการณ์ในการจัด
         ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล อีเว้นท์ ทีเส็บ และ  เนชั่นแนล อีเว้นท์ ที่สามารถประมูลสิทธิ์น�าการ  RoboCup Asia-Pacific 2017 เมื่อเดือนธันวาคม
         กรุงเทพมหานคร ประกาศยืนยันการได้สิทธิ์  แข่งขันวิชาการหุ่นยนต์ระดับนานาชาติเข้ามา        ๒๕๖๐ ซึ่งสามารถดึงผู้เข้าร่วมการแข่งขันได้
         จัดการแข่งขันหุ่นยนต์นานาชาติ RoboCup2021   จัดในประเทศไทย เพื่อช่วยสร้างเสริมบุคลากรไทย  มากกว่า ๑,๕๐๐ คนจาก ๑๔ ประเทศทั่วโลก
         Bangkok, Thailand พร้อมเป็น เจ้าภาพจัดการ  ได้พัฒนาศักยภาพในการประดิษฐ์หุ่นยนต์             อีกทั้งหน่วยงานภาครัฐยังให้การสนับสนุนอย่าง
         แข่งขันวิชาการหุ่นยนต์นานาชาติ ในเดือนมิถุนายน   ให้ทัดเทียมกับระดับโลก และน�าความรู้ด้าน  จริงจังในการอ�านวยความสะดวกในด้านการ
         ๒๕๖๔ พร้อมเดินหน้าผลักดันประเทศสู่การเป็น  วิชาการหุ่นยนต์จากผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศมาให้                จัดการต่างๆ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีทีม
         ผู้น�าอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติ     คนไทยได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์”  แข่งขันหุ่นยนต์เข้าร่วมรายการแข่งขัน และได้รับ
         ของอาเซียน                            ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดีคณะ  รางวัลจากทาง RoboCup Federation อย่าง
   6       ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการ  วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะ  ต่อเนื่องการได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการ
         กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวว่า   ประธานจัดงาน RoboCup 2021 Bangkok,         แข่งขันรายการ RoboCup 2021 Bangkok,
                                                                                 Thailand จะช่วยยกระดับภาพลักษณ์ของ
         “การจะพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ให้เติบโตได้  Thailand กล่าวว่า “RoboCup 2021 Bangkok,
         อย่างแข็งแรงและมีความพร้อมที่จะสนับสนุน  Thailand คือการแข่งขันวิชาการหุ่นยนต์ระดับ  ประเทศไทยในฐานะผู้น�าด้านอุตสาหกรรม
                                                                                 หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติของภูมิภาคอาเซียน
         อุตสาหกรรมอื่นๆ ได้ จ�าเป็นต้องมีบุคลากรที่มี  นานาชาติ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อส่งเสริมการวิจัยและ
         ความรู้และทักษะเชิงเทคนิคเป็นจ�านวนมาก        พัฒนาวงการหุ่นยนต์ระดับโลก RoboCup             ทั้งยังเป็นโอกาสดีในการรวบรวมองค์ความรู้
                                                                                 งานวิจัย เทคโนโลยี และธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้อง
         การที่ประเทศไทยได้มีโอกาสในการจัดเมกะอีเว้นท์                  จัดครั้งแรกในปี ค.ศ.๑๙๙๗ ซึ่งมีแนวคิดเริ่มต้น
         ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับหนึ่งในอุตสาหกรรม                 ว่าภายในปี ค.ศ.๒๐๕๐ ทีมหุ่นยนต์อัตโนมัติ        กับหุ่นยนต์จากนานาชาติ รวมถึงแนวทางในการ
                                                                                 บูรณาการองค์ความรู้ทางด้านอุตสาหกรรม
         เป้าหมายในประเทศไทย 4.0 อย่างการแข่งขัน  จะสามารถแข่งฟุตบอลชนะทีมแชมป์ โลก โดยใช้
         รายการ RoboCup 2021 Bangkok, Thailand   กฎตามที่ FIFA ก�าหนดไว้ได้ และเพื่อให้บรรลุ  หุ่นยนต์ให้เข้ากับอุตสาหกรรมอื่นๆ  อาทิ
                                                                                 อุตสาหกรรมการผลิต การท่องเที่ยว เกษตรกรรม
         ถือว่าเป็นประโยชน์กับประเทศอย่างมาก รัฐบาล  วัตถุประสงค์ดังกล่าว จึงได้มีการแบ่งสายการ
         ไทยโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   พัฒนาหุ่นยนต์ออกเป็นหลายลีคด้วยกัน จนเกิด  การบริการ การแพทย์ การศึกษา และความ
                                                                                 บันเทิงเป็นต้น”
         พร้อมส�านักงานส่งเสริมการจัดประชุมและ  กลุ่มเครือข่ายความร่วมมือในการถ่ายทอดและ
         นิทรรศการ (องค์การมหาชน) และหน่วยงาน  แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในวิชาการด้านหุ่นยนต์   ผศ.ดร.จักรกฤษณ์  กล่าวเพิ่มเติมว่า
         ราชการต่างๆ  ที่เกี่ยวข้องยินดีที่จะให้การ  ระหว่างสถาบันการศึกษาทุกระดับชั้นรวมถึง  “สิ่งส�าคัญที่สุดที่เหล่าผู้เข้าแข่งขันหรือ
                                                                                 นักประดิษฐ์หุ่นยนต์ชาวไทยจะได้รับจากงาน
                                                                                 RoboCup 2021 Bangkok, Thailand ก็คือโอกาส
                                                                                 ในการแสดงศักยภาพด้านการวิจัยและพัฒนา
                                                                                 หุ่นยนต์ของบุคลากรชาวไทย รวมถึงเครือข่าย
                                                                                 ระดับนานาชาติที่มีทั้งผู้เชี่ยวชาญจากองค์กร
                                                                                 ชั้นน�าระดับโลกและนักประดิษฐ์หุ่นยนต์ทั่วโลก
                                                                                 เพื่อให้ผู้เข้าแข่งขันชาวไทยได้แลกเปลี่ยน
                                                                                 ความรู้และประสบการณ์ ได้รับแรงบันดาลใจและ
                                                                                 เปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้ด้านวิชาการหุ่นยนต์
                                                                                 ระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม และหุ่นยนต์
                                                                                 บริการ  ซึ่งสิ่งที่ได้รับจากการแข่งขันครั้งนี้
                                                                                 จะสามารถน�าไปต่อยอด และใช้พัฒนาสร้างสรรค์
                                                                                 ผลงานที่ดียิ่งขึ้นต่อไปในอนาคต”  Mahidol


         November 2018                                            M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11