Page 21 - MU_7July61
P. 21

กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม
                                                                                  กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม
                                                                                     รองศาสตราจารย์ ดร.กิติกร จามรดุสิต รักษาการแทน
                                                                                      รองศาสตราจารย์ ดร.กิติกร จามรดุสิต รักษาการแทน
                                                                                         รองอธิการบดีฝ่ายสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
                                                                                    รองอธิการบดีฝ่ายสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
                                                                                           ภาพโดย: น.ส. ศิริประภาพร แสงสุรศักดิ์












                  มีหลายค�าถามที่สงสัยในการที่  ความพยายามที่จะคิดหาเกณฑ์การ การประเมินตามตัวชี้วัดมหาวิทยา
               มหาวิทยาลัย มีการปรับปรุงเกณฑ์การ  ประเมินในการแสดงผลลัพธ์ที่ออกมา ลัยเชิงนิเวศน์ ที่ประยุกต์หลักการ
               ประเมินตัวชี้วัดต่างๆ อยู่เสมอๆ นับ  ถึงความแตกต่างของบริบทในแต่ละ ของ SAFA (SUSTAINABILITY AS-
               ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นมา เนื่อง  ส่วนงาน โดยเทียบกับตนเองเพื่อทราบ SESSMENT OF FOOD AND AG-
               ด้วยการที่เราจะพัฒนาอย่างยั่งยืนได้   ถึงปัญหาที่แท้จริงว่าตนเองต้องแก้ไข RICULTURE  SYSTEMS)  ของ
               เราก็ต้องรู้จักตนเองก่อนว่า ตนมีอะไร   ส่วนไหนหรือพัฒนาส่วนใดเพิ่มเติม องค์การอาหารและการเกษตรแห่ง
               และขาดอะไร เพื่อจะได้ทราบว่าเราควร  โดยที่ไม่ต้องไปเทียบกับคนอื่น เพื่อน�า สหประชาชาติ (FAO) ให้สามารถ
               จะพัฒนาหรือแก้ไขจุดบกพร่องอย่างไร   ไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป   ประเมินผลความยั่งยืนในมิติสิ่ง
               เพราะแต่ละคนก็มีบริบทที่ไม่เหมือนกัน   กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม จึงยก  แวดล้อมของแต่ละตัวชี้วัดและภาพ
               ย่อมก็ต้องมีการพัฒนาหรือแก้ไขสิ่ง ระดับการด�าเนินการของส่วนงาน  รวมผลการด�าเนินงานของส่วนงาน
               ต่างๆ ที่ต่างกันไป มหาวิทยาลัยจึงมี ให้เกิดความยั่งยืนโดยพัฒนาเกณฑ์  เพื่อสะท้อนจุดแข็งและจุดที่ต้องพัฒนา
                                                                             ต่อของแต่ละส่วนงาน  ซึ่งในแต่ละตัวชี้
                                                                             วัดจะมีการประเมินแผนการด�าเนินการ
                                                                             (T:TARGET)  วิธีการด�าเนินการ
                                                                             (R:PRACTICE) และผลส�าเร็จของการ
                                                                             ด�าเนินการ (P:PERFORMANCE) เมื่อ
                                                                             ประเมินผลตัวชี้วัดแล้วจะน�ามา          21
                                                                             ค�านวณคะแนนเป็นร้อยละ เพื่อจัด
                                                                             ระดับผลการด�าเนินงาน โดยใช้สีเพื่อ
                                                                             สื่อถึงระดับของประสิทธิภาพความ
                                                                             ยั่งยืน ตามตารางการประเมินความ
                                                                             ยั่งยืนในมิติสิ่งแวดล้อมข้างล่างนี้ ทั้งนี้
                                                                             กองกายภาพฯได้ออกแบบการรายงาน
                                                                             ผลคะแนน ในรูปแบบของ  SUSTAIN-
                                                                             ABILITY PROFILE ให้เน้นการใช้
                                                                             สัญลักษณ์ในการสื่อสารที่ง่ายต่อความ
                                                                             เข้าใจ  Mahidol





























                                                                                                    มหิดลสาร ๒๕๖๑
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26